Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, น.ส.สิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์ …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
ขบวนการแลกเปลี่ย gas เกิดที่ถุงลม
จึงต้องส่งออกซิเจนไปให้ถึงให้ได้อย่างเพียงพอ
อัตราการหายใจ
ของเด็กในแต่ละวัย
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน
ในเลือดแดงมากกว่า95-100 %
การหายใจมีปีกจมูกบาน
ลักษณะ
หายใจลำบาก ขณะหายใจเข้ามีการบานออกของ
ปีกจมูกทั้งสองข้างเพื่อช่วยขยายท่อทางเดินหายใจ
เสียงหายใจผิดปกติ
rhonchi sound
มีการไหลวนของอากาศผ่านเข้าไปในทางเดิน
หายใจที่ตีบแคบ อาจเกิดเสมหะอุดตัน เยื่อบุทางเดิน
หายใจบวม หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมิแพ้
wheezing
เสียงหวีด ได้ยินชัดในช่วงหายใจ
ออก พบในผู้ป่วยโรคหอบหืด
crepitation sound
เป็นเสียงแตกกระจายเป็นช่วงๆ เกิดจากการที่
ลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
พบในภาวะปอดอักเสบ
เสียงหายใจที่ผิดปกติ แสดงว่า
ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
stridor sound
เกิดจากมีการตีบแคบของบริเวณกล่องเสียง
หรือหลอดลม ได้ยินตอนหายใจเข้าและออก
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง
กระดูกหน้าอก
ช่องระหว่างซี่โครง
ใต้ซี่โครง
กลไกทางธรรมชาติของร่างกายในการขจัด
สิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ
กระบวนการสร้างสารมูก Mucous
กลไกการไอ Cough reflex
การพัดโบกของขนกวัด Cilia
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
เป็นมูกคล้ายแป้งเปียก รวมเป็นก้อน
มีความยืดและหนืดมาก ต้องประเมินสารน้ำ
เสมหะไม่เหนียว
ลักษณะเป็นเมือกเหลว ยืดและหนืดน้อย
ไม่รวมตัวกันเป็นก้อน
Croup
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดิน
หายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียง
และส่วนที่อยู่ใต้ลงมา
สาเหตุจากการอักเสบบริเวณ
กล่องเสียง
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และ
หลอดลมฝอยในปอด
ฝาปิดกล่องเสียง
อาการ
ไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
พ่น Adrenaline ใส่
Endotracheal tube
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
อาการน้ำลายไหล
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก Dyspnea
ไอเสียงก้อง Barking cough
inspiratory stridor
หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ปัญหาสำคัญที่ต้องดูแล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เนื่องจากมีการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
เกิดจาการติดเชื้อ
virus
bacteria
S.pneumoniae
streptococus
H.influenzae
Tonsilitis/
Pharyngitis
สาเหตุ
Beta Hemolytic
streptococcus gr.A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
ทานยา Antibiotic
ให้ครบ 10 วัน
การผ่าตัดต่อมทอนซิล
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
Tonsillectomy
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ประกอบกับเด็กเงียบ ซีด และมีการกลืนติดต่อ
กันเป็นข้อบ่งชี้ว่ามีเลือดออก
เมื่อรู้สึกตัวดี จัดให้อยู่ในท่านั่ง 1-2 ชม.
ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ ในรายที่ปวดแผล
ผ่าตัดให้ใช้กระเป๋าน้ำแข็งวางรอบคอ
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
เพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ น้ำลายหรือโลหิต
อาจมีคั่งอยู่ในปากและคอ จนกว่าเด็กจะรู้สึกตัวดี
และสามารถขับเสมหะได้เอง
หลังผ่าตัด
หลีกเลี่ยงการแปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกเกินไป
การออกแรงมาก หลังผ่าตัด 24-48 ชม. แรก
เพราะอาจทำให้มีเลือดออกจากแผลในช่องปากได้
ประคบหรืออมน้ำแข็งประมาณ 10 นาที แล้วเอา
ออกประมาณ 10 นาที จึงประคบหรืออมน้ำแข็งใหม่
หลังการผ่าตัด 1-2 วันแรก เพดานอ่อนผนังในคอ
อาจบวมมากขึ้น ควรนอนศีรษะสูง อมและประคบน้ำแข็งบ่อยๆ
เพื่อลออาการบวมบริเวณที่ทำผ่าตัด
ควรรับประทานอาหารอ่อน ไม่ควรรับประทานอาหารที่
แข็งหรือร้อน หรือรสเผ็ด หรือรสจัด อย่างน้อย 1 สัปดาห์
อาจมีไข้ บวม รู้สึกตึงๆ หรือมีเสียงเปลี่ยน
อาการดังกล่าวมักหายไปภายใน 1 สัปดาห์
หลังผ่าตัด 2-4 สัปดาห์ แผลจะหายเป็นปกติ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับบ้านหลังผ่าตัด 24-48 ชม.
หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน แผลค่อยๆหายเองใน 7-14 วัน
อาจมีอาการเจ็บคอ มีน้ำลายปนเลือดเล็กน้อย
Asthma
การดูแล
ยาลมอาการบวม
ในรายที่มีเสมหะ จะไม่ใช้วิธีการเคาะปอด
ให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ
ไอมากขึ้น
มีเสียง wheezing
ช่วงหายใจออก
ในเด็กอาจมีอาเจียนร่วมด้วย
เป็นการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
ความรุนแรง
ขั้นปานกลาง
ตื่นกลางคืนบ่อยๆ วิ่งเล่นไม่ค่อยได้
ขั้นรุนแรง
กระสับกระส่าย นอนไม่ได้ เหนื่อยหอบ
จนพูดหรือกินอาหารไม่ได้ ริมฝีปากเขียว
ขั้นเล็กน้อย
ไอหรือมีเสียงวี๊ด
ความไวต่อสิ่งกระตุ้น
ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
ทำให้หลอดลมตีบแคบลงเยื่อบุภายในบวม
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว
การรักษา
ยาขายหลอดลม
ชนิดพ่น
ชนิดรับประทาน
ยาลดการบวมและ
การอักเสบของหลอมลม
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ควันบุหรี่
ตัวไรฝุ่น
ไม่ควรมีตุ๊กตาที่มีขน
หมอน ผ้าปูที่นอน
ซักสัปดาห์ละครั้ง
ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้าห้องนอน
อากาศเย็น
การออกกำลังกาย
ไซนัสอักเสบ
อาการ
ไข้สูง 39 องศา
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัว
มีน้ำมูกไหล
ไอ
การวินิจฉัย
CT scan
Transilumination
X-ray paranasal
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส
แบคทีเรีย เชื้อรา
ระยะของโรค
Chronic sinusitis
อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
Acute sinusitis
ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
การดูแลรักษา
ให้ยาแก้ปวด
ยาแก้แพ้ ในรายที่ไซนัสอักเสบเรื้องรัง
ยา Steroid
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
การล้างจมูก
ช่วยลดจำนวนแบคทีเรีย
เพิ่มความชุ่มชื้น
วันละ 2-3 ครั้ง
ใช้ 0.9% NSS
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
อาการ
ไข้หวัดเล็กน้อย
น้ำมูกใส
จาม
เบื่ออาหาร
กลไก
เชื้อไวรัส ทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอยทำให้
เกิดอาการอักเสบ บวม และมีการคั่งของเสมหะ
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมฝอย ผลคือ เกิด Atelectasis
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ยาปฏิชีวนะ
ยาต้านการอักเสบ
ยาขยายหลอดลม
เกิดจารอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
การดูแล
ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ปัญหาการติดเชื้อ
เสริมสร้างภูมิต้านทาน
ปอดบวม Pneumonia
การรักษา
ดูแลเรื่องไข้ Clear
airway suction
ปัญหาพร่องออกซิเจน
ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
อาการ
ไข้
ไอ
หอบ
ดูดน้ำ/นม น้อยลง
ซึม
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
Pneumonia
สอนการไออย่างถูกวิธี
นอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนให้เพียงพอ
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติด
เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
องค์ประกอบของการระบายเสมหะ
Postural drainage
เพื่อระบายเสมหะ
Percussion
Vibration
Effective cough
น.ส.สิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
เลขที่ 38 รุ่น 36/2
612001119