Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ,…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
ก้อนบวมโนที่ศี่รษะ
(Caput succedaneum)
ก้อนบวมโนนี้ทําให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
พบได้ด้านข้างของศีรษะ
ลักษณะ
เกิดจากการคั่ง ของของเหลว
ระหว่างชั้นหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะก้อนบวมโนจะ
ข้ามรอยต่อ ( suture )
ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตไม่แน่นอน
การรักษา
หายได้เอง
หายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
ประมาณ 3 วันถึง 2 – 3 สัปดาห์
ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ
(Cephalhematoma )
ลักษณะ
เห็นชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ขอบเขตชัดเจน
ไม่ข้าม suture
พบก้อนโนเลือดมีสีดําหรือน้ำเงินคล้ำ
การรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนก้อนโนเลือดจะค่อย ๆ หายไปได้เอง
อาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์
อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา
( Subconjunctival hemorrhage )
ลักษณะ
การมีจุดเลือดออกที่ตาขาว
มักพบบรเิวณรอบ ๆ กระจกตา
การรักษา
หายไปได้เองโดยไม่ต้องการการรักษา
ใช้ระยะเวลา 2 – 3 สัปดาห์
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ
(Facial nerve palsy )
เส้นประสาทสมองคู่ที่ี 7 ของใบหน้าทารกถูกทําลายจากการใช้คีมช่วยคลอด
ในรายที่มีอาการรุนแรงไม่สามารถปิดตาได้อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนคือกระจกตาเป็นแผล
( corneal ulcer )
ที่ตาของทารกขางที่กลามเนื้อหน้าเป็นอัมพาต
อาการ
กล้ามเนื้อใบหนาข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาตจะอ่อนแรง
ไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผากข้างที่เป็นให้ย่นได้
ไม่สามารถปิดตาได้
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยว ไม่สามารถเคลื่อนไหวปากขางนั้นได้้
กลามเนื้อจมูกแบนราบ
ใบหนาสองข้างของทารกไม่สมมาตรกัน
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
อาการจะหายไปได้เอง อาจใช้เวลา2-3 วันหรือหลายเดือน
ควรหยอดน้ำตาเทียม
อัมพาตที่แขน
(Brachial plexus palsy)
Erb – Duchenne paralysis(cervical nerve 5 – 6)
Klumpke’ s paralysis
มาเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1 (C7,8 – T1)
Horner’s syndrome
อาการ
มือบิดเข้าใน
• รูม่านตาหด (miosis)
• หนังตาตก (ptosis)
• ตาหวำลึก (enophthalmos)
• ต่อมเหงื่อที่บริเวณใบหน้าทำหน้าที่ได้ไม่ดี
กล้ามเนื้อด้านใน (intrinsic muscles) ของมือข้างที่ประสาทได้รับบาดเจ็บอ่อนแรง ทำให้ไม่สามารถกำมือได้
แต่ยังมี อาการผวา biceps และ radial
มีปฏิกริยาสะท้อนกลับ (reflex) ได้
ทารกอาจมี Horner’s syndrome ถ้า sympathetic fiber ของเส้นประสาทคู่ที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหน้าอกคู่ที่ 1ได้รับบาดเจ็บด้วย
Combined หรือ Total brachial plexus injury
เส้นประสาททรวงอกคู่ที่ 1 (C5 – T1)
ถ้า(C3 – C4)ถูกทาลายร่วมด้วยทำให้มีอัมพาตกระบังลม(paralysis of diaphragm)
กล้ามเนื้อแขนลีบ
ไม่มีอาการผวา (moro reflex) เมื่อตกใจ
ยังกํามือ(grasp reflex)ได้
ไม่มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับ
การรักษา
เริ่มpassive movement
รอจนกว่าทารกอายุ7-10วัน
ให้แขนอยู่นิ่ง(partial immobilization)
ยึดแขนไว้ในท่าหัวไหล่ทํามุม 90องศากับลำตัวหมุนแขนออกด้านนอก แขนส่วนล่างอยู่ในท่าหงายและฝ่ามือหันเข้าหาใบหน้า
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงแขนได้รับบาดเจ็บจากการคลอดทำอัมพาตของแขนส่วนบน ( upper arm ) อาจไม่มีหรือพบร่วมกับอัมพาตของแขนท่อนปลาย( forearm ) คือส่วนข้อมือถึงข้อศอก อัมพาตของมือหรืออมพาตของทั้งแขน
กระดูกไหปลาร้าหัก
(Fracture clavicle)
มีอัมพาตเทียม
ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
คลําบริเวณที่หักได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitus)
การรักษา
โดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลา
ร้าหกอยู่นิ่ง พยายามไม่ให้เคลื่อนไหว
ข้อสะโพกเคลื่อน
(hip dislocation)
มีอาการบวม เวลาทํา passive exercise ทารกจะร้องเนื่องจากเจ็บปวด
กระดูกเดาะ (greenstick fracture)
ทารกมีขาบวม ขายาวไม่เท่ากันมีข้อจํากัดในการเคลื่อนไหวหรือไม่
การรักษา
อยู่นิ่งอย่างน้อย2-4สัปดาห์
ท่างอข้อสะโพกและกางออก (human position)พยายามให้อยู่ในท่า 1-2 เดือน
การหักของกระดูกแขน(humerus)
หรือกระดูกขา
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
บริเวณกระดูกหักมีสิผิวผิดปกติ
การรักษา
กระดูกต้นแขนเดาะใช้ผ้าตรึงแขนติดลำตัว
กรณีที่หักอย่างสมบูรณ์รักษาโดยใช้ผ้า
นางสาวปรีดานันท์ อินทรา เลขที่ 37 ชั้นปีที่ 3