Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บไขสันหลัง ( Spinal cord injuries ) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บไขสันหลัง ( Spinal cord injuries )
การบาดเจ็บ ( Trauma )
โดนยิง / แทง
ตกจากที่สูง
อุบัติเหตุจากรถ
การเล่นกีฬา
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ( Non-traumayic disorders )
โรคกระดูกพรุน
เนื้องอก
การอักเสบของเยื่อหุ้มไขสันหลัง
โรคของหลอดเลือด : ขาดเลือด / เลือดออก
การเสื่่อมของกระดูกสันหลัง
การบาดเจ็บแบบงอ Flexion injury
พบบ่อย เกิดจากอุบัติเหตุ
การฉีกขาดของเอ็นด้านหลัง
ไขสันหลังขาดเลือดไปเลี้ยง
กระทบกระดูกสันหลัง C5 - C6, T12 - L3
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ Hyperextension injury
เกิดจากการล้มคางกระเเทกวัตถุ
ส่งผลให้สูญเสียการเคลื่อนไหวในตำแหน่งที่ต่ำกว่าบริเวณที่มีพยาธิ
มีการฉีกขาดของเอ็นด้านหน้า
การบาดเจ็บท่างอ เเละหมุน Flexion with rotation injury
มีการฉีกขาด posterior longitudinal ligament
เกิดจากการหมุน / บิดศีรษะและคออย่างรุนเเรง
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด Compression injury
เกิดจากการหกล้ม / กระโดด โดยใช้ศีรษะ ก้น เท้า กระเเทกกับวัตถุ
กระเเทกโดยใช้เท้านำ เกิดการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังส่วนเอว L - อกท่อนล่าง T
ใช้ศีรษะนำ เกิดการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังส่วน C
กระดูกสันหลังยุบตัวเข้าหากัน
การบาดเจ็บแบบ Penetrating injury
เกิดการบาดเจ็บทางตรงเเละทางอ้อม
ไขสันหลังบวม ขาดเลือดเลี้ยง เนื้อเยื่อไขสันหลังตายจากการขาดเลือด
เกิดจากการถูกแทง / ยิง
ประเภทการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
มีการรับรู้ทางผิวหนัง
ขยิบรอบๆทวารหนักได้
บางส่วนของระบบประสาทที่ทำหน้าที่อยู่
การบาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์
สูยเสียการทำงานของกล้ามเนื้อเเละความรู้สึกในส่วนที่ต่ำกว่าพยาธิสภาพ
ควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดรอบทวารหนักไม่ได้
ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมด
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
3.จัดท่าในท่าที่สบายลดการเจ็บปวด
ใช้คนเคลื่อนย้านอย่างน้อย 3 คน log roll โดยการใช้ spinal board
2.ดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
1.ดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง ไม่ให้กระดูกคอเคลื่อน โดยใส่ Philadelphia collar
การรักษา
การดึงกระดูกให้เข้าที่ การทำ Skull traction
3.การผ่าตัด
การทำให้ส่วนที่หัก / บาดเจ็บ อยู่นิ่ง