Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การบัญชีและการตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้,…
บทที่ 10
การบัญชีและการตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
ผลิตภัณฑ์ร่วม ( Joint Products )
จากลักษณะของกระบวนการผลิตที่จะทำให้เกิดผลผลิตมากกว่า 1 ชนิด เพื่อประโยชน์ในการกำหนดราคาของสินค้า กิจการที่มักจะมีผลิตภัณฑ์ร่วมเกิดขึ้น เช่น โรงกลั่นน้ำมัน โรงเลื่อยไม้ เป็นต้น
ลักษะณะโดยทั่วไปของผลิตภัณฑ์ร่วม
1.เป็นผลผลิตที่จะต้องได้กระบวนการผลิตเดียวกันและมีอัตราส่วนของการผลิตค่อนข้างที่จะคงที่ เช่น น้ำมันดิบ 10 ลิตร
ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการผลิตร่วมกันและ
เป็นผลผลิตเป้าหมายที่กิจการให้ได้
จากกระบวนการผลิตนั้น ๆ
เป็นผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการผลิตร่วมกัน โดยมีต้นทุนในการผลิตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นวัตุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต
การจัดสรรต้นทุนให้แก่ผลิตภัณฑ์ร่วม
ต้นทุนการผลิตที่เกิดจากกระบวนการผลิตเดียวกันและให้ผลผลิตออกมาหลายชนิดที่เราเรียกว่าผลิตภัณฑ์ร่วมถือเป็นต้นทุน ซึ่งจุดที่กระบวนการผลิตได้ทำการแยกออกม่เป็นชนิดต่าง ๆเรียกว่า
จุดแยกตัว( Split-off Point )
หลังจากนั้นกิจการอาจจะต้องนำผลิตภัณฑ์ร่วมไปทำการผลิตต่อก่อนที่จะนำออกจำหน่าย ต้นทุนการผลิตของผลิตภัณฑ์ร่วมแต่ละชนิดเกิดขึ้นหลังจุดแยกนี้ เรียกว่า
ต้นทุนแยก (Spaeable Costs)
หลักเกณฑ์การจัดสรรต้นทุนร่วมให้ผลิตภัณฑ์ร่วม
การจัดสรรต้นทุนร่วมตาม
ต้นทุนโดยเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
การจัดสรรต้นทุนร่วมตามมูลค่าขาย
หรือราคาตลาดของผลิตภัณฑ์ร่วม
กรณีที่ 1 ผลิตภัณฑืร่วมแต่ละชนิดสามารถ
จำหน่ายหรือขายได้ทันทีเมื่อผ่านจุดแยกออก
กรณีที่ 2 ผลิตภัณฑ์ร่วมบางชนิดไม่สามารถจำ
หน่ายได้ทันทีจะต้องมีการผลิตต่อเพิ่มเติมจึงจำหน่ายได้
การจัดสรรต้นทุนร่วมตาม
ต้นทุนต่อหน่วยโดยเฉลี่ย
การจัดสรรต้นทุนร่วม
ตามปริมาณหน่วยผลิต
ผลิตภัณฑ์พลอยได้
( By-products )
จากกระบวนการผลิตหลายชนิดนอกจากจะได้
ผลิตภัณฑ์หลักตามที่กิจการต้องการ
แล้ว ก็มากจะมีบางอย่างที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต
เช่น เศษซากขี้เลื่อย
ลักษณะของผลิตภัณฑ์พลอย
ได้เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์หลัก
เมื่อเทียบกันแล้วจะมีจำนวนเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
แต่ก็มากพอที่จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
ราคาหรือมูลค่าของผลิตภัณฑ์พลอยได้
มักจะต่ำกว่าเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์หลัก
ผลิตภัณฑ์พลอยได้ไม่ใช่ผลผลิตหลักของการผลิต
แต่จะเกิดขึ้นเสมอของกระบวนการผลิต
ผลิตภัณฑืพลอยได้บางชนิด
สามารถจำหน่ายได้ทันที
หรือบางชนิดต้องนำไปผลิตต่อ
โดนเสียต้นทุนเล็กน้อย
การบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์พลอยได้
กรณีที่ 1 การนำรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์พลอยได้
แสดงในงบกำไรขาดทุนเมื่อไม่มีการผลิตต่อหรือไม่มีต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายใด ๆ เกิดขึ้นเนื่องจากการขายผลิตภัณฑ์พลอยได้
กรณีที่ 2 การแสดงรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ใน
งบกำไรขาดทุนเมื่อมีการผลิตต่อหรือเกิดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจากการขายผลิตภัณฑ์พลอยได้นั้น ๆ การแสดงรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์
พลอยได้ให้แสดงเป็นรายได้สุทธิ
:champagne:
:tada:
:
:check:
:silhouette:
:red_cross:
:warning:
:pencil2:
นางสาวพรชนก แก้วน้อย เลขที่02