รูปแบบและ เครื่องมือในการบาบัดทางการพยาบาลจิตเวช
นิเวศน์บำบัด (Milieu Therapy)
แนวคิดและหลักการ
องค์ประกอบ
ความสำคัญ
วิธีการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมผู้ป่วย
พฤติกรรมบาบัด (Behavior Therapy: BT, CBT)
จิตบำบัด (Psychotherapy)
ความหมาย
การออกแบบวาง แผนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
จะช่วยทำให้คนไข้ ได้เรียนรู้วิธีการปรับพฤติกรรมเพื่อนำไปสู่การแสดงออกของพฤติกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์
- ความปลอดภัย (Safety)
- โครงสร้าง (Structure)
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
- บรรทัดฐานทางสังคม (norms)
- ความสมดุล (balance)
- การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (Limit setting)
นิยมใช้ กับผู้ป่วยในกรณี
2 . มีพฤติกรรมการทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
3 . มีภาวะเพ้อ มึนงง และสับสน
1 . มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น อาละวาด ก้าวร้าว หรือคลุ้มคลั่ง
4 . มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
2 . การจำกัดขอบเขต
3 . การใช้ยา (medication)
1 . การจำกัดด้วยวาจา เรียกชื่อผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงที่ดัง ชัดเจน
2.2 การนำเข้าห้องแยก (seclusion)
2.1 การจำกัดขอบเขต
4 กลุ่มกิจกรรมบำบัด (group activity therapy)
ข้อดี
2 เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับสมาชิกกลุ่มคนอื่นๆ
3 . ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
1 ประหยัดเวลา
ข้อด้อย
1 . ผู้ป่วยบางรายอยู่โรงพยาบาลช่วงระยะเวลาสั้นๆ ทำให้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มได้จานวนครั้งไม่มากนัก
2 . เรื่องส่วนตัวบางเรื่องที่ผู้ป่วยคุยกันภายในกลุ่มอาจจะถูกนำไปคุยภายหลังกลุ่มกิจกรรมเสร็จสิ้น ดังนั้นควรตั้งกติกาหรือข้อตกลงก่อนทำกลุ่ม
ขั้นตอนการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
2 . ขั้นดำเนินการ
3 . ขั้นประเมินผล
1 . ขั้นเตรียมการ
2.2 ขั้นดำเนินการกลุ่ม (Working phase)
2.3 ขั้นสิ้นสุดกลุ่ม (Termination phase)
2.1 ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม (Orientation phase)
3.1 บรรยากาศกลุ่ม
3.2 กระบวนการกลุ่ม
3.3 เนื้อหา
3.4 บทบาทผู้นำกลุ่มและผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
องค์ประกอบของการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
2 . สถานที่ (setting)
3 . ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด (leader)
1 . กิจกรรม (activity)
4 . ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม (co leader)
5 . สมาชิกกลุ่ม (members)
ลักษณะของผู้ป่วย
1 . Dominant patient : แสดงตัวเป็นจุดเด่น
2 . Uninvolved patient : โลกส่วนตัวสูง
3 . Hostile patient : ก้าวร้าว
4 . Distracting patient : สับสน เบลอ
บทบาทพยาบาลในนิเวศน์บำบัด
1 . เป็นผู้วางแผน ออกแบบสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยให้มีความเหมาะสม ปลอดภัย
2 . เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย
3 . วางแผนจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดต่างๆ เพื่อส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพหรืออาการของผู้ป่วยจิตเวช
4 . ให้ความรู้เรื่องต่างๆแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
5 . จำกัดสิทธิหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ความหมาย
เทคนิคและวิธีกำรของพฤติกรรมบำบัด
การบาบัดทางจิตชนิดหนึ่งที่มุ่งเน้นการควบคุม พฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยใช้หลักการเรียนรู้และผลการทดลองทางจิตวิทยามาใช้กับ พฤติกรรมที่เป็นปัญหาการแก้ไขพฤติกรรมเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยไม่คานึงถึงสาเหตุของพฤติกรรมในอดีต
หลักการของพฤติกรรมบำบัด
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
ขั้นตอนการทำพฤติกรรมบำบัด
2.การเรียนรู้โดยกำรวำงเงื่อนไขแบบกำรกระทำ (Operant conditioning)
3.การเรียนรู้ทางสังคม (Social learning)
1 . การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม (Classica l
conditioning)
2 . ตั้งวัตถุประสงค์ร่วมกับผู้ป่วย
1 . เก็บข้อมูลและทา Functional analysis
- Punishment
- Shaping Teachique
- Reimforcement
1 . Self Monitoring
5.Counter Conditioning
เพิ่มหรือเสริมแรงให้กับผู้ป่วย ทั้งทางบวกและทางลบ
การทำโทษเมื่อผู้ป่วยทำผิด
การนำหลักการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
มาใช้ในการปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น รลดความกลัวหรือความวิตกกังวลโดยการให้ดูตัวต้นแบบ ฝึกให้ผู้ป่วยกล้าแสดงถึงความรู้สึก
การแต่งพฤติกรรมจากพฤติกรรมง่าย ๆไปสู่พฤติกรรม
ซับซ้อน
เป็นการประเมินตนเอง
การเรียนรู้เกิดจากเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง
การนำไปใช้
ผู้ป่วยติดสุรา/ยาเสพติด
เด็กปัญญาอ่อน,
ผู้ป่วยโรคอ้วน,ผู้ป่วยจิตเภท
เด็กดื้อ
กระบวนการรักษาCBT
2 การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์
3 การฝึกทักษะ
1 การประเมิน
4 การสร้างเสถียรภาพของทักษะและการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ
5 การประยุกต์ใช้โดยทั่วไปและการธารงรักษา
6 การประเมินหลังการบาบัดและการติดตาม
ความหมาย
การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยวิธีการพูดคุยกับผู้ป่วย หรือ บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง เข้าใจ ผู้อื่น ยอมรับตนเองและผู้อื่น ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนความคิด เจตคติและพฤติกรรมอันนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างถูกต้องเหมาะสม
รูปแบบจิตบำบัด
วิธีการของจิตบำบัด
วิธีการบำบัดตามทฤษฎีของโรเจอร์ส
ลักษณะของการบำบัดทางจิต
2 . จิตบำบัดแบบประคับประคอง
1 . จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น
จุดมุ่งหมาย
1.2 เพื่อแก้ไขกลไกทางจิตที่ทาให้เกิดพยาธิสภาพ
1.3 เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
1.1 เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจเฉพาะเรื่อง (ในระดับจิตไร้สานึก)
จุดมุ่งหมาย
2.2 เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
2.3 เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
2.1 เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.4 เพื่อช่วยเพิ่มพลังและประคับประคองให้แก่การทำงานของจิต
3 . ให้แนวทาง การแนะแนว
4 . การหันความสนใจไปสู่ภายนอก
2 . ให้การสนับสนุน
5 . การจัดการกับสิ่งแวดล้อม
1 . ให้ความเชื่อมั่น ให้กำลังใจ
6 . การแนะนำ
7 . การชักชวน จูงใจ
8 . การระบายอารมณ์
9 . การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง
4 . แสดงความเอื้ออาทรใส่ใจ
5 . ให้ผู้ป่วยเกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างของตน
3 . ให้การยอมรับ
6 . ให้ผู้ป่วยสำรวจตนเองและเปิดเผยเรื่องราวประสบการณ์
2 . ให้ความจริงใจ
7 . ให้ผู้ป่วยพิจารณาจนเกิดความเข้าใจและยอมรับสภาพปัญหาตามความเป็นจริงและกำหนดเป้าหมายตลอดจน หาแนวทางในการแก้ปัญหา
1 . สร้างบรรยากาศให้การช่วยเหลือ
8 . ให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด
2
จิตบำบัดกลุ่ม
กำรทำกลุ่มบำบัดให้ประสบความสำเร็จ
ชนิดของจิตบำบัดกลุ่ม
วิธีการ
3 . Repressive interaction group กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด
4 . Free interaction group ( กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี
2 . Therapeutic Social Club กลุ่มพบปะสังสรรค์
5 . Psychodrama กลุ่มละครจิตบำบัด
1 . Didactic group กลุ่มการสอน
2 . Nondirective Methods วิธีการแบบไม่นำทาง
1 . Directive Methods วิธีการแบบนำทาง
ระยะเวลาที่ใช้ครั้งละ75-90 นาที
อาทิตย์ละ 1-3 ครั้ง
การดาเนินกลุ่มจิตบาบัด
ระยะกลาง ดำเนินการ
ระยะเริ่มต้นกลุ่ม
ระยะสุดท้าย
1.จิตบำบัดรายบุคคล
4 . การรับผิดชอบตนเอง (Self Responsibility)
5 . สร้างความหวัง (Instillation of Hope)
3 . การเข้าใจตนเอง (Self Understanding)
6 . การเห็นประโยชน์ของผู้อื่น (Altruism)
2 . การได้ระบาย (Expression)
7 . มีความสามัคคีของกลุ่ม (Group Cohesiveness)
1 . ทุกคนมีสิทธิที่จะป่วยเหมือนกัน
นางสาวทิพย์สุคนธ์ สอนทะเดช
รหัสนักศึกษา 612701036 เลขที่ิ 36