Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล - Coggle Diagram
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่สำคัญ
1.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)
การปฏิบัติ(Do)
การตรวจสอบ(Check)
วางแผน(Plan)
การปฏิบัติจริง(Act)
เรียกย่อว่า PDCA หรือ วงจรเดมมิ่ง(PDCA Deming cycle)
2.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran)
การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement)
การกำหนดเป้าหมายคุณภาพ
3.การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
คุณภาพ หมายถึง การทำตามมาตรฐาน
ไม่มีปัญหาอะไรสำคัญเท่ากับปัญหาคุณภาพ
ทำได้ถูกกว่าเสมอ ถ้าหากทำให้ถูกตั้งแต่แรก
ตัวชี้วัดผลงาน คือ ต้นทุนคุณภาพ
มาตรฐานของผลงาน คือ ของเสียเป็นศูนย์
4.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน (Continuous quality improvement ,CQI)
เป็นการปรับปรุงวิธีการทํางานจากงานประจํา และสุดท้าย
เป็นกระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล/การคิดสร้างสรรค์และการ มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง
เน้นการตอบสนองต่อผู้รับผลงานเป็นสําคัญ
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(Nursing Quality assurance) และมาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ
1.เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้นv
2.เพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริการพยาบาลให้ดีขึ้น
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาล
แนวคิดการประกันคุณภาพในยุคเดิม
มีการตรวจสอบรวบรวมข้อมูล โดยผู้บริหารการพยาบาลนิเทศงาน
รายงานผลการตรวจสอบ
พัฒนามาตรฐาน โดยกำหนดนโยบาย
แนวคิดของการประกันคุณภาพการพยาบาลในช่วง ค.ศ. 1952 – 1992
สมาคมพยาบาลอเมริกันได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานเพื่อเป็นการพัฒนาการพยาบาลและการประเมินคุณภาพแต่ยังเป็นการดำเนินการเฉพาะเรื่อง
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาลเน้นที่กระบวนการ
ประเมินคุณภาพและนำผลมาพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพทั้งองค์การเป็นการแก้ปัญหาทั้งระบบมากกว่าแก้จุดเล็ก ๆ
รูปแบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
รูปแบบที่ 1 การประกันคุณภาพของโรแลนด์
การเตรียมข้อมูลภายในหน่วยงานเพื่อแสดงคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด
การเปรียบเทียบสารสนเทศที่ได้กับหน่วยงานอื่น เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง
งานที่ยังไม่มีคุณภาพ
การออกแบบกระบวนการประกันคุณภาพการพยาบาล
นำแนวคิดที่ได้หรือข้อมูลจากการประเมินมาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้น
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการพยาบาลที่ชัดเจนขององค์กร
ในกรณีที่เกณฑ์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ จะต้องมีการปรับให้สามารถวัดและ
ประเมินผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และเริ่มต้นวงจรใหม่
รูปแบบที่ 2 การประกันคุณภาพการพยาบาลขององค์การอนามัยโลก
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
ประเมินค่าการวัด
สร้างเครื่องบ่งชี้คุณภาพโดยกำหนดเกณฑ์ตัวบ่งชี้
ปรับปรุงคุณภาพ
รูปแบบที่ 3 การประกันคุณภาพการพยาบาลของสมาคมพยาบาลอเมริกัน
กำหนดมาตรฐานและเกณฑ์
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
สร้างความรู้สึกต่อคุณภาพ
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผล
ค้นหาแนวทางปรับปรุง ในข้อที่เป็นปัญหาไม่มีคุณภาพ
เลือกวิธีการปรับปรุง
ปฏิบัติ
รูปแบบที่ 4 การประกันคุณภาพการพยาบาลของคณะกรรมการร่วมเพื่อการรับรององค์การ
บริการสุขภาพ
กำหนดคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล และการจัดระเบียบข้อมูล
กำหนดระดับของการรับรอง
การประเมินคุณภาพการพยาบาลโดยการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลข้อมูล
ระบุตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดจุดสำคัญของการพยาบาล
ปฏิบัติการทันทีเพื่อแก้ปัญหาที่พบจากการประเมิน
เขียนขอบเขตของการพยาบาลและบริการที่ให้
ประเมินผลการปฏิบัติการเพื่อแก้ปัญหาและทำการบันทึก
มอบหมายความรับผิดชอบ
รายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องแก่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพขององค์กร
ระบุจุดสำคัญของการพยาบาลและบริการที่ให้
ระบบการประกันคุณภาพ
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล(Nursing Audit)
การพัฒนาคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพ(Quality improvement)
การกำหนดมาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
แนวทางการกำหนดมาตรฐานการพยาบาล
กำหนดให้สอดคล้องกันทั้งปรัชญา มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
การกำหนดมาตรฐานการพยาบาลในลักษณะกระบวนการ
กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของความต้องการ
มาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพ
มาตรฐานระดับสากล(Normative standards)
มาตรฐานระดับผู้เชี่ยวชาญ(Empirical standards)
ระดับของมาตรฐานการพยาบาลตามสมาคมพยาบาลเมริกา
มาตรฐานการดูแล(Standard of care)
มาตรฐานการปฏิบัติตามวิชาชีพ(Standard of professional performance)
มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล(Standards of nursing practice)
ประเภทของมาตรฐานการพยาบาล
มาตรฐานเชิงกระบวนการ(Process standard)
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์(Outcome standard)
มาตรฐานเชิงโครงสร้าง(Structure standard)
ระบบการบริหารคุณภาพ
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล(Hospital Accreditation: HA)
หลักการของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
การเรียนรู้เกิดจากการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ปรับปรุงระบบงานการประเมินและพัฒนาใช้กรอบแนวทางซึ่งเน้นเป้าหมาย
กรอบแนวทางเน้นความต้องการร่วมของผู้ป่วยสำหรับทุกภาค ทุกระดับ
ประโยชน์จากการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
ความเสี่ยงลดลงทำงานง่ายขึ้น
บรรยากาศการทำงานดีขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ดีขึ้น
การพัฒนาคุณภาพบริการแบบเครือข่าย (Hospital Network Quality Audit: HNQA)
Motivation จูงใจให้ปฏิบัติตามเอกสารที่กำหนด
Monitoring มีการติดตามผลดูเป็นระยะๆ ว่าเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่
Training ฝึกอบรมสร้างความเข้าใจให้ปฏิบัติได้
Review มีการทบทวนเอกสารเป็นระยะๆ อย่างน้อยทุก 1 ปี
Documentation การทำให้เป็นลายลักษณ์อักษร
การพัฒนาคุณภาพบริการแบบเครือข่าย(Hospital Network Quality Audit: HNQA) ในทางปฏิบัติ
Mechanize service คือ เครื่องมืออาคารสถานที่ที่ให้บริการแล้วไม่ได้ให้ผู้ป่วยไปด้วย
Personalized service คือ การทำหัตถการ การดูแล
Product content in service คือ อุปกรณ์การให้บริการที่ให้ผู้ป่วยไปด้วย
ระบบมาตรฐาน(ISO)
• ISO ๙๐๐๓ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องการตรวจ และการทดสอบขั้นสุดท้าย
• ISO ๙๐๐๒ มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
• ISO ๑๔๐๐๐ เป็นระบบมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง
• ISO ๙๐๐๑ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
• ISO ๑๘๐๐๐ มาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
• ISO ๙๐๐๐ คือการจัดระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพ ที่สามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบเอกสาร
• ISO ๙๐๐๔ เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำ ในการจัดการในระบบคุณภาพ ซึ่งจะมีการกำหนดย่อย ในแต่ละประเภทธุรกิจ
• ISO ๒๖๐๐๐ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม
การบริหารความเสี่ยง(Risk Management: RM)
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
ได้ปรับปรุงระบบการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ในองค์กร
มีระบบรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมทั้งภายในองค์กรและการนำเสนอสู่ภายนอก
ได้ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานทั้งภายในองค์กรและกับภายนอกองค์กร
มีการจัดสรรทรัพยากรไปบริหารความเสี่ยงในจุดที่ถูกต้อง
ได้ปรับปรุงกระบวนการตัดสินใจ
กระบวนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
การค้นหาความเสี่ยง(Risk indentification)
ความเสี่ยงทางคลินิก(Common Clinical Risk)
ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค(Specific Clinical Risk)
ความเสี่ยงทั่วไป(Non Clinical Risk)
ระดับ 0 หมายถึง ยังไม่เกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงแต่มีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย
ระดับ 1 หมายถึง เกิดอุบัติการณ์ขึ้นแล้ว กระทบถึงบุคคลหรือสิ่งของ ซึ่งทำให้ได้รับอันตรายหรือเกิดความเสียหายเล็กน้อย
ระดับ 2 หมายถึง เกิดอุบัติการณ์ขึ้นแล้ว กระทบถึงบุคคลหรือสิ่งของซึ่งทำให้ได้รับอันตรายหรือเกิดความเสียหายปานกลาง
ระดับ 3 หมายถึง เกิดอุบัติการณ์ขึ้นแล้ว กระทบถึงบุคคลหรือสิ่งของซึ่งทำให้ได้รับอันตรายมากหรือเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหรือทรัพย์สิน สิ่งของเสียหาย
ความเสี่ยงทางคลินิก
ระดับ C : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว ถึงผู้รับบริการแล้ว แต่ไม่เป็นอันตรายไม่ได้รับความเสียหายหรือสูญเสีย
ระดับ D : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว ถึงผู้รับบริการแล้วได้รับความเสียหายแต่ไม่เป็นอันตรายแต่จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังให้มั่นใจว่าปลอดภัย
ระดับ B : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว แต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ
ระดับ E : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว ถึงผู้รับบริการ ได้รับอันตราย หรือเสียหายชั่วคราว จำเป็นต้องดูแลรักษา
ระดับ A : เหตุการณ์ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสี่ยงหรือความเสียหายได้ (ยังไม่เกิด)
ระดับ F : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว ถึงผู้รับบริการ และส่งผลให้ได้รับอันตรายหรือเสียหายชั่วคราว จำเป็นต้องดูแลรักษานานขึ้น นอนโรงพยาบาลนานขึ้น
ระดับ G : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงแล้ว ถึงผู้รับบริการ เป็นผลให้ได้รับอันตราย หรือเสียหายหรือสูญเสียอย่างถาวร ต้องให้ทีมเจรจาไกล่เกลี่ยจัดการ
ระดับ H : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงขึ้นแล้ว ถึงผู้รับบริการ เป็นผลให้ต้องทำการช่วยชีวิต ไม่สามารถจัดการได้โดยทีมเจรจาไกล่เกลี่ย
ระดับ I : เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงขึ้นแล้ว ถึงผู้รับบริการ และเป็นผลให้เกิดการเสียชีวิต หรือมีการฟ้องร้องทางกฎหมาย