Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, อ้างอิง : กัลยา…
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
ขบวนการแลกเปลี่ยน gas เกิดที่ถุงลม จึงต้องส่งออกซิเจนไปให้ถึงได้อย่างเพียงพอ
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
(O2 saturation) มากกว่า 95-100 %
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ (tachypnea)
หายใจช้ากว่าปกติ (bradypnea)
ลักษณะการหายใจ
หายใจมีเสียงดังคล้ายเสียงคราง(stridor)
หายใจลำบาก (dypnea)
การหายใจมีปีกจมูกบาน (nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
การบานของปีกจมูกเพื่อช่วยขยายท่อทางเดินหายใจ
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
เสียงหายใจผิดปกติ
stridor sound
เกิดจากมีการตีบแคบของบริเวณกล่องเสียง มีลักษณะเสียงคราง พบได้ในเด็กที่เป็น acute laryngitis, laryngotracheitis
crepitation sound
เป็นเสียงแตกกระจายเป็นช่วงๆ
เกิดจากการที่ลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
พบในภาวะปอดอักเสบ (pneumonia)
rhonchi sound
เกิดจากอากาศเข้าไปในส่วนทางเดินหายใจที่ตีบแคบกว่าปกติ
การตีบแคบอาจเกิดจาก
เสมหะอุดตัน
เยื่อบุทางเดินหายใจบวม
หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมิแพ้
wheezing
เป็นเสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด
ได้ยินชัดในช่วงหายใจออก
เกิดจากหลอดลมเล็กๆหรือหลอดลมฝอยเกิดการบีบเกร็ง
พบในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด หรือภาวะหลอดลมมีความไวในการตีบตัวมากกว่าปกติ
กลไลการสร้างเสมหะ
ประกอบด้วย 3 แบบ
การพัดโบกของขนกวัด Cilia
กลไกการไอ Cough Reflex
กระบวนการสร้างสารมูก Mucous
เมื่อมีการติดเชื้อจะเกิดผลดังต่อไปนี้
จะสร้าง mucous เพิ่มมากขึ้น ทำให้เสมหะมากขึ้น
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมและทำลาย Cilia เพิ่มมากขึ่น
ต่องสร้างสารคัดหลั่ง (mucus gland)
จำนวน Cilia ก็จะลดน้อยลง
ผลที่ตามมาจากการที่ cilia ลดลง คือ เสมหะมีปริมาณมากและเหนียวข้นจะไม่ถูกพัดพาออกจากทางเดินหายใจ
ทำให้เกิดการคั่งค้างของเสมหะในหลอดลมเพิ่มมากขึ้น
ถ้าอากาศเย็นการพัดโบกของ cilia จะไม่มีประสิทธิภาพ
การไออย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นกลไกที่จะช่วยป้องกันไม่ให้มีการคั่งค้างของเสมหะในหลอดลม
ถ้าเด็กเล็กสอนการไอไม่ได้ต้องช่วยเคาะปอดและ suction
ทำไมต้องเพิ่มน้ำในผู้ป่วยที่มีเสมหะ
ส่งผลให้ cilia ทำหน้าที่ในการพัดโปกได้ดีขึ้น เป็นผลให้ไอขับเสมหะออกมาได้ง่ายขึ้น
การที่ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ จะช่วยให้ความชุ่มชื้นต่อทางเดินหายใจ ทำให้เสมหะเหนียวน้อยลงขับออกได้ดี
ลักษณะของเสมหะ
เหนียว
เสมหะคล้ายแป้งเปียกมูกๆๆ เป็นก้อน มีความหนืดมาก
ไม่เหนียว
เป็นเมือกเหลว มีความยืด หนืดน้อย ไม่เป็นก้อน
Croup
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียงและส่วนที่อยู่ใต้ลงมา
สาเหตุ
มีการอักเสบบริเวณ
กล่องเสียง
หลอดลมใหญ่และหลอดลมฝอยในปอด
ฝาปิดกล่องเสียง
จากการติดเชื้อ
virus
bacteria
อาการ
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก dyspnea
อาการน้ำลายไหล drooling
ไอเสียงก้อง barking cough
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline ต้องใส่ Endotracheal tube
inspiratory stridor หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ปัญหาสำคัญที่ต้องดูแล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
แบคทีเรีย
ไวรัส
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
ในรายที่มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอยหรือเพดานปาก
สาเหตุเกิดจาก
Coxsackie Virus เรียกว่า Herpangina
คำแนะนำที่สำคัญ
ให้กินยา Antibiotic ให้ครบ 10 วัน เพื่อป้องกัน ไข้รูห์มาติคและหัวใจรูห์มาติคหรือกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล
จะทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ในเรื่องของการติดเชื้อเรื้อรัง หรือเป็นๆหายๆ
มีไข้ เจ็บคอ เจ็บคอมากเวลากลืนหรือกลืนลำบากอย่างเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆจนรบกวนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
หรือมีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการนอนกรน หรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
หรือในรายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด Tonsillectomy
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ น้ำลายหรือโลหิตที่คั่งอยู่
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับบ้านได้หลังผ่าตัด 24-48 ชม. หากรับประทานน้ำและอาหารได้เพียงพอและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยอาจจะมีไข้ บวม หรือรู้สึกตึงๆ คล้ายมีสิ่งแปลกปลอมบริเวณคอหรือมีเสียงเปลี่ยนได้ อาการดังกล่าวจะหายไปภายใน 1 สัปดาห์
หลังผ่าตัด 1-2 วันแรก เพดานอ่อนหรือผนังในคออาจบวมมากขึ้นได้ ทำให้หายใจอึดอัดไม่สะดวก จึงควรนอนศีรษะสูง
หลีกเลี่ยงการแปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกเกินไป
ควรประคบหรืออมน้ำแข็งประมาณ 10 นาที แล้วจึงเอาออกประมาณ 10 นาที แล้วค่อยประคบหรืออมใหม่เป็นเวลา 10 นาที เช่นนี้ไปเรื่อยๆ
ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม
ปกติหลังผ่าตัดประมาณ 2-4 สัปดาห์ แผลจะหายเป็นปกติ
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย
เชื้อรา
ไวรัส
ระยะของโรค
Acute sinusitis ไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis ต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
อาการ
มีไข้39ขึ้น , ปวดศรีษะ เมื่อยตามตัว ,มีอาการนาน 10 กว่าวัน
การวินิจฉัย
X-ray paranasal sinus ควรทำในเด็กอายุเกิน 6 ปี
CT scan ได้ผลดีกว่าวิธีอื่น
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน (Transilumination)
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ปวด ลดไข้และบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ให้ยาแก้แพ้ให้ใช้เฉพาะในรายที่ไซนัสอักเสบเรื้อรังที่มีสาเหตุชักนำมาจากโรคเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้เท่านั้น
ให้ยา steroid เพื่อลดอาการบวม
การล้างจมูก
ล้างก่อนใช้ยาพ่น
ล้างวันละ 2-3 ครั้ง
ใช้ 0.9% NSS ในการล้าง
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
พยาธิสภาพ
2.ทำให้หลอดลมตีบแคบลง เยื่อบุภายในหลอดลมบวมขึ้น
3.สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
1.ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว
การดูแล
ได้รับออกซิเจน
ให้พักเพื่อลด activity
ให้ยาขยายหลอดลม
ได้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa
ในรายที่มีเสมหะ จะไม่ใช้วิธีเคาะปอด
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ มักจะมีเสียง wheezing ในช่วงหายใจออก
ถ้าหอบมาก ปากซีดเขียว ใจสั่น
ความรุนแรง
ขั้นปานกลาง
วิ่งเล่นซนไม่ค่อยได้
ขณะเล่นมักไอ
ตื่นกลางคืนบ่อยๆ
มีเสียง Wheezing
ขั้นรุนแรง
เล่นซนไม่ได้
เหนื่อยหอบจนพูดหรือกินอาหารไม่ได้
กระสับกระส่ายจนนอนไม่ได้
รอบริมฝีปากเป็นสีเขียว
ขั้นเล็กน้อย
เริ่มไอ และ/หรือ มีเสียงวี้ด
ยังเล่นซนได้ปกติ
ทานอาหารได้ตามปกติ
นอนปกติ
การรักษา
พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้น
การใช้ยา
ยาขยายหลอดลม
ชนิดพ่น
ให้ผลเร็ว
ยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids
ต้องบ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งป้องกันเชื้อราในปาก
ชนิดรับประทาน
ยาลดการบวม
ใช้ระยะสั้น 3-5 วัน
ต้องให้ภายใต้แผนการรักษาของแพทย์เท่านั้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ไม่ใช้พรมในห้องนอน
ซักผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ไม่ควรมีตุ๊กตาที่มีขนในห้องนอน
ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้าห้องนอน
ตัวไรฝุ่น
ไม่มีปัญหาการออกกำลังกาย ถ้าควบคุมโรคหอบหืดได้ดี
ควันบุหรี่
อากาศเย็น
การใช้ baby haler
หลังล้างทำความสะอาดต้องสอนผู้ป่วยให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้ง
ล้างด้วยน้ำยาล้างจานตากให้แห้ง ไม่ควรใช้ผ้าเช็ดถู
Baby haler ต้องล้างทำความสะอาดบ่อยๆ
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อย คือ RSV
จะพบมากในเด็กที่ไม่กินนมแม่
เกิดจากมีการอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
พบในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต พบบ่อยที่สุดอายุประมาณ 6 เดือน
เป็นปัญหาติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
อาการ
เริ่มจากไข้หวัดเพียงเล็กน้อย น้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร
ต่อมาเริ่มไอเป็นชุดๆ ร้องกวน หายใจเร็ว หอบ หายใจมีปีกจมูกบาน ดูดนม/น้ำได้น้อย
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ยาปฏิชีวนะ
ยาต้านการอักเสบ
ยาขยายหลอดลม
การดูแล
ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ได้รับน้ำ
ดูแลไข้
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ
เสริมสร้างภูมิต้านทาน
ให้อาหารที่มีประโยชน์
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อ
แบคทีเรีย
ไวรัส
อาการ
หอบ
ดูดน้ำ/นมน้อยลง
ไอ
ซึม
ไข้
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน
เด็กอายุ 2 เดือนถึง 1 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 50 ครั้ง/นาที
เด็กอายุ 1-5 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 40 ครั้ง/นาที
เด็กแรกเกิด อัตราการหายใจที่มากกว่า 60 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลเรื่องไข้
Clear airway suction
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลแก้ไข้ปัญหาพร่องออกซิเจน
ให้ยาขยายหลอดลม
ยาขับเสมหะ
ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
ถ้าเสมหะอยู่ลึก ให้เคาะปอดและ suction
ให้นอนศีรษะสูง
ต้องสอนการไออย่างถูกวิธีในเด็กโตและกระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ต้องดูแลปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจ สำคัญ
การระบายเสมหะ
ประกอบด้วย
การเคาะ (Percussion)
ใช้ผ้ารองบนส่วนที่จะเคาะ ใช้เวลาเคาะประมาณ 1 นาทีในแต่ละท่า
ขณะเคาะหากผู้ป่วยไอคววรหยุดเคาะ ใช้การสั่นสะเทือนแทน
ทำมือลักษณะคุ้ม นิ้วแต่ละนิ้วชิดกัน
ใช้อุ้งมือ ไม่ควรใช้ฝ่ามือ
ควรเคาะก่อนรับประทานอาหาร/ท้องว่าง/หลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
การสั่นสะเทือน (Vibration)
ทำมือเป็นถ้วยเพื่อลดแรงกระแทกที่หน้าอกเด็ก
ใช้มือวางราบและเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณต้นแขนและหัวไหล่ในจังหวะการหายใจเข้าเต็มที่และกำลังหายใจออก
จัดท่าผู้ป่วย (Postural drainage)
อยู่ด้านขวาให้จัดท่านอนตะแคงซ้าย
อยู่ด้านซ้ายให้จัดท่านอนตะแคงขวา
อยู่ส่วนหลังให้จัดนอนคว่ำ
อยู่ส่วนหน้าให้จัดท่านอนหงาย
อยู่ส่วนล่างนอนหัวต่ำ
อยู่ส่วนบนนอนหัวสูง
การสอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective cough)
การพ่นยาในเด็ก
ประโยชน์ที่ผู้ป่วยได้รับ
เพิ่มประสิทธิภาพในการไอขับเสมหะได้ง่ายขึ้น
ให้ความชุ่มชื้นแก่อากาศหรือก๊าซที่หายใจเข้า
ทำให้ขับเสมหะออกจากปอดได้ง่ายขึ้น
เป็นการบริหารยาทางระบบหายใจ
ทำให้เสมหะที่เหนียวอ่อนตัวลง
ข้อปฏิบัติในการพ่นยาแบบละออง Neubulizer
เคาะกระเปาะพ่นยาเป็นระยะๆเพื่อไม่ให้ยาตกค้าง
ใช้เวลาพ่น 10 นาที
ใช้มือประคองกระเปาะพ่นยาไว้ เพื่อให้อุณหภูมิคงที่
ถ้าไม่เห็นละอองยาหรือละอองยาออกไม่หนาแน่นเท่าที่ควรต้องสำรวจเครื่องพ่นยาว่าทำงานหรือไม่ ช่วงรอยต่อหลุดหรือไม่
ไม่ควรให้เด็กร้อง เพราะปริมาณยาจะเข้าสู่ปอดน้อยลง
เปิดออกซิเจน 6-8 ลิตรต่อนาที
face mask
เป็นออกซิเจนแบบหน้ากากครอบบริเวณจมูกและปาก
เหมาะกับผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจนในระดับปานกลาง
ความเข้มข้นประมาณ 35-50%
เปิดออกซิเจน 5-10 ลิตร/นาที
ไม่ควรเปิดน้อยกว่า 5 ลิตร/นาที เพื่อป้องกันการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ใน mask
Nasal cannula
ในเด็กโตจะปรับที่ 3 ลิตร/นาที
ไม่ควรปรับการไหลของออกซิเจนที่สูงเกินไปเพราะจะทำให้เยื่อจมูกแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
ในเด็กเล็กจะปรับอัตราการไหลไม่เกิน 2 ลิตร/นาที
ข้อดี
ประหยัด
ยึดติดกับผู้ป่วยง่าย
สามารถให้นมและอาหารกับผู้ป่วยได้โดยไม่ต้องหยุดให้ออกซิเจน
เป็นการให้ออกซิเจนที่ต้องการความเข้มข้นไม่สูงมาก
ข้อจำกัด
ในผู้ป่วยที่มีน้ำมูกมาก
เยื่อบุจมูกบวม
ผนังจมูกเอียง
Oxygen hood / Box
ความเข้มข้นประมาณ 30-70%
ควรเปิดออกซิเจนอย่างน้อย 7 ลิตรต่อนาที
เหมาะกับทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก
ถ้าเป็นของทารกที่ใช้ Hood เล็ก เปิดออกซิเจน 3-5 ลิตร/นาที
เป็นกล่องพลาสติก วางครอบศีรษะเด็ก
หลักการให้คำแนะนำในการดูแลเด็ก
ถ้าบวมก็ให้ยาลดบวม
ถ้าอักเสบติดเชื้อก็ให้ยา ATB
การดูแลเด็กที่มีปัญหาพร่องออกซิเจน
หลักสำคัญคือต้องแก้ไขเส้นทางผ่านของออกซิเจน
บทบาทเราคือผู้ประเมินและร่วมกับแพทย์ในการแก้ไข
ผู้ป่วยและญาติช่วยในเรื่องที่เขาช่วยได้
สังเกตอาการ
ดูแลเช็ดตัวเมื่อมีไข้
รักษาความสะอาด
ถ้าตีบก็ให้ยาขยาย
ถ้ามีเสมหะก็เอาเสมหะออก
การให้ออกซิเจนเลือกตามความเหมาะสมกับเด็ก และแผนการรักษาของแพทย์
อ้างอิง :
กัลยา ศรีมหันต์.(2020).การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี.