Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ - Coggle…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
1.ก้อนบวมโนที่ศีรษะ
(Caput succedaneum)
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะ
ทำให้มีของเหลวซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด (V/ E)
อาการและอาการแสดง
ก้อนบวมโนนี้ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
คลำศีรษะทารกแรกเกิดพบก้อนบวมในลักษณะนุ่ม กดบุ๋ม
กดไม่เจ็บ เคลื่อนไหวได้
ขอบเขตไม่ชัดเจน
ข้ามแนวรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบทันทีภายหลังคลอด
แนวทางการรักษา
สามารถหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องรักษา
จะหายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
ประมาณ 3 วัน ถึง 2 – 3 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับขนาด
ของก้อนบวมในที่เกิดขึ้น
2.ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ
(Cephalhematoma )
สาเหตุ
เกิดจากมารดามีระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด
เป็นผลให้หลอดเลือดฝอยบริเวณเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะทารกฉีกขาด
เลือดจึงซึมออกมานอกหลอดเลือดใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูก
กะโหลกศีรษะ
การวินิจฉัย
จากประวัติพบว่าระยะคลอดมารดาเบ่งคลอดนาน
หรือได้รับการช่วยคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ
จากการตรวจร่างกายพบบริเวณศีรษะทารกแรกเกิดมีก้อนบวมโนบนกระดูกกะโหลกศีรษะ ชั้นใดชั้นหนึ่งมี
ลักษณะแข็งและคลำขอบได้ชัดเจน
อาการและอาการแสดง
ลักษณะการบวมจะมีขอบเขตชัดเจนบนกระดูกกะโหลก
ศีรษะชิ้นใดชิ้นหนึ่ง
พบก้อนโนเลือดมีสีดำหรือนํ้าเงินคลํ้า
**จะปรากฏให้เห็นชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
แนวทางการรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน ก้อนโนเลือดจะค่อย ๆ หายไป
ได้เอง
ในรายที่ก้อนเลือดมีขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูด
เลือดออก
3.เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา
( Subconjunctival hemorrhage )
สาเหตุ
เกิดจากการที่มารดาคลอดยาก
ศีรษะทารกถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ตาแตก ทำให้มีเลือดซึมออกมา
การวินิจฉัย
ตรวจพบมีเลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตาทารก
ภายหลังคลอด
แนวทางการรักษา
สามารถหายไปได้เองโดยไม่ต้องการการรักษา
โดยใช้ระยะเวลา 2 – 3 สัปดาห์
4.เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้า
บาดเจ็บ (Facial nerve palsy )
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ได้รับบาดเจ็บจากการถูกกด
ในระหว่างที่ศีรษะผ่านหนทางคลอดหรือถูกกด
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
โดยเฉพาะในรายที่คลอดยาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ได้ประวัติการคลอดว่า มารดามีระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนานหรือมารดาคลอดโดยใช้คีมช่วยคลอด
การตรวจร่างกาย พบอาการและอาการแสดงของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ได้รับบาดเจ็บ
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาตจะอ่อนแรง
เห็นได้ชัดเจนว่าไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผากข้างที่เป็นอัมพาตให้ย่นได้
ไม่สามารถปิดตาได้
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยว ไม่สามารถเคลื่อนไหวปากข้างนั้นได้
กล้ามเนื้อจมูกแบนราบ
ใบหน้าสองข้างของทารกไม่สมมาตรกัน
แนวทางการรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
ส่วนใหญ่อาการจะหายไปได้เอง
แต่ควรหยอดนํ้าตาเทียมให้เพื่อป้องกันจอตาถูกทำลาย
5.อัมพาตที่แขน
(Brachial plexus palsy)
Klumpke’ s paralysis
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับบาดเจ็บ คือเส้นประสาทคอคู่ที่ 7,8 และ
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1 (C7,8 – T1)ทำให้ทารกมีข้อมืองอมือบิดเข้าใน
Horner’s syndrome
• รูม่านตาหด (miosis)
• หนังตาตก (ptosis)
• ตาหวำลึก (enophthalmos)
• ต่อมเหงื่อที่บริเวณใบหน้าทำหน้าที่ได้ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อด้านใน (intrinsic muscles) ของมือข้างที่
ประสาทได้รับบาดเจ็บอ่อนแรง ทำให้ไม่สามารถกำมือได้
แต่ยังมีอาการผวา biceps และ radial
มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (reflex) ได้
ทารกอาจมี Horner’s syndromeถ้า
sympathetic fiber ของเส้นประสาทคู่ที่มาเลี้ยง
กล้ามเนื้อหน้าอกคู่ที่ 1 ได้รับบาดเจ็บด้วย
Combined หรือ Total brachial
plexus injury
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับบาดเจ็บ คือเส้นประสาทคอคู่ที่ 5
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1 (C5 – T1)
ถ้าเส้นประสาทคอคู่ที่ 3 และ 4 (C3 – C4) ถูกทำลายร่วมด้วย
ทำให้มีอัมพาตกระบังลม (paralysis of diaphragm)
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ ประวัติการคลอดยาก การคลอดติดไหล่
แรกเกิดทารกไม่ยกแขนข้างที่เป็น
2.ตรวจร่างกาย พบว่าทารกแรกเกิดไม่ยกแขนข้างที่เป็นได้
เมื่อทดสอยด้วย moro reflex ทารกยกแขนได้ข้างเดียว
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อทั้งแขนและมือของทารกจะอ่อนแรง
ไม่มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (reflexs) ทั้งหมด
Erb – Duchenne paralysis
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับบาดเจ็บ คือเส้นประสาทคอคู่ที่
5 และ 6 (cervical nerve 5 – 6)
กล้ามเนื้อที่ได้รับการกระทบกระเทือน คือกล้ามเนื้อ
ต้นแขน (deltoid) biceps และbrachioradialis
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการผวา (moro reflex)เมื่อตกใจ ทารกสูญเสีย
bicepsและ radial reflex
• ยังกำมือ(grasp reflex)ได้
6.กระดูกไหปลาร้าหัก
(Fracture clavicle)
กระดูกไหปลาร้าหัก(Fracture clavicle)
มีอัมพาตเทียม (pseudoparalysis)
ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก (ไม่มี moro reflex)
คลำบริเวณที่หักได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitus) และไม่เรียบ
กล้ามเนื้ออก กล้ามเนื้อไหปลาร้าและกล้ามเนื้อกกหู
(sternocleidomastiod muscle) หดเกร็ง
กระดูกแขนหัก (fracture arm)
กระดูกขาหัก (fracture leg)
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทำคลอด
บริเวณที่มีกระดูกหักมีสีผิวผิดปกติ
กระดูกสะโพกเคลื่อน (hip dislocation)
หัวกระดูกขาหลุดออกจากเบ้ากระดูกสะโพก
เส้นเอ็นถูกยืดออกเป็นผลทำให้หัวกระดูกต้นขาถูกดึงรั้งสูงขึ้น
อาการและอาการแสดง
พบว่าทารกมีขาบวมขายาวไม่เท่ากัน มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวหรือ
ไม่มีการเคลื่อนไหวขาข้างที่มีการเคลื่อนของข้อสะโพก และเมื่อจับ
ให้เคลื่อนไหวหรือหมุนขาทารกจะร้อง
การรักษา
อยู่นิ่ง อย่างน้อย 2 – 4 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก โดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลา
ร้าหักอยู่นิ่ง พยายามไม่ให้เคลื่อนไหว
กระดูกต้นแขนเดาะ
ใช้ผ้าตรึงแขนติดลำตัว
กรณีที่หักอย่างสมบูรณ์รักษาโดยใช้ผ้าพันรอบแขนและลำตัวหรือ
ใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
จับให้ทารกนอนในท่างอข้อสะโพกและกางออก (human position)เป็นเวลาอย่างน้อย 1 – 2 เดือน
การพยาบาล
ภาวะแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง
ภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ประเมินทารกโดยวางใต้ radiant warmer ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
สังเกตท่าทางการนอนของทารก ดูความสมดุลของการงอแขนขา
การเคลื่อนไหว
ประเมินสีผิว
ประเมินความสมดุลของกล้ามเนื้อใบหน้า การกระพริบตา
การขยายของรูม่านตา และรีเฟล็กซ์ต่างๆ
ประเมินภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตา
ประเมินความสมดุลในการเคลื่อนไหวของแขนขา คลำ
กระดูกไหปลาร้า บันทึกหากมีการหักหรือเกยกัน ขยับนิ้วมือ นิ้วเท้า
รูปร่าง การยืดขยายของหน้าท้อง ฟังเสียง
ลำไส้เคลื่อนไหว
ประเมิน Moro Reflex ,Barbinski Reflexและการคดงอของกระดูก
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
ประเมินการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่บาดเจ็บ แรงของ
กล้ามเนื้อ ท่าทาง ความเจ็บปวด
จัดท่าให้ถูกต้องตามหลักกายวิภาค
ถ้ากระดูกไหปลาร้าหัก ให้ใช้
ผ้าอ้อมพันรอบหน้าอก เพื่อไม่ให้แขนที่บาดเจ็บเคลื่อนไหว
ช่วยทารกออกกำลังกล้ามเนื้อข้างที่มีภาวะ
Erb’s palsy ทุก 2- 4 ชม.
เข้าเฝือกข้างที่มี Erb’s palsy ประเมินการไหลเวียนเลือดและผิวหนังทุก 2 ชั่วโมง