Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME - Coggle Diagram
MECONIUM ASPIRATION
SYNDROME
คือ การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในนํ้าครํ่าเข้าปอด
ในทารกแรกเกิด
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้
นํ้าหนักแรกคลอดตํ่า
การคลอดนานทางช่องคลอด
ทารกคลอดที่ครรภ์เกินกำหนด
มารดามีความดันเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษและมารดา
มีนํ้าหนักมากเกินกว่าปกติขณะตั้งครรภ์
พยาธิสรีรวิทยาของโรค
การขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอดทำให้ขี้เทาถูกบีบออกมาอยู่ในน้ำครํ่าการหายใจที่เกิดขึ้น ทำให้ทารกสำลักขี้เทานี้เข้าสู่ทางเดินหายใจหากขี้เทามีขนาดใหญ่จะอุดตันหลอดลมใหญ่ๆ ทำให้การขาดออกซิเจนมีความรุนแรงมาก แต่หากการสำลักก้อนเล็กๆ และกระจายอยู่ทัว่ ไป อุดตันท่อลมเล็กๆ เป็นการอุดตันอย่างสมบูรณ์ทำให้เกิดภาวะ
ball valve mechanismอากาศถูกกักอยู่ในถุงลมใต้ต่อตำแหน่งที่ถูกอุดตันทำให้บริเวณนั้นมีภาวะ hyperinflation เกิดภาวะ pneumo thorax
หรือ pneumo mediastinum ได้ ขี้เทาที่กระจายอยู่ทัว่ ๆไปจะทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบ อัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซของถุงลมปอดและหลอดเลือดฝอยเสียไปเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดตํ่าลงมีคาร์บอนไดออกไซด์
สูงขึ้นทำให้เลือดเป็นกรดแรงดันเลือดในปอดสูงขึ้น
อาการแสดง
ทารกที่เป็น MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกำหนด
หรือเกินกำหนด
มีประวัติ fetal distress
Apgar score ตํ่า
มีขี้เทาในนํ้าครํ่า(thick mecomium stained
amniotic fluid)
ความรุนแรง
รุนแรงปานกลาง
ทารกจะมีอาการของการกดการหายใจ
หายใจเร็ว
ช่องซี่โครงยุบลงขณะหายใจ
เขียวคล้ำ
อาการจะค่อยๆ ทวีความรุนแรง
มีความรุนแรงสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง
มักหายได้ภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
รุนแรงมาก
ทารกจะมีการหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอดหรือ 2-3 ชั่วโมงหลังคลอด
อาการของกดการหายใจชัดเจน
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือดในปอดที่สูงมาก
รุนแรงน้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
ทำให้ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือดเข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
การรักษา
เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการ
ใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ใหอ้ อกซิเจนใหพ้ ร้อม
มีความเสี่ยงต่อการสำลักขี้เทาให้ใช้ลูกสูบยางแดงดูดทาง
ปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพน้ จากช่องคลอด
หลังจากดูดออกหมดแลว้ หากทารกไม่หายใจควรให้แรงดัน
บวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
ในรายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วย
หายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากนั้นจะดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหาร โดยการดูดจาก
สายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก