Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กสรดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
กสรดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กมี
สิทธิในการพัฒนา
สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง
.สิทธการมีชีวิตอยู่รอด
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
Stress and copping
การจัดการกับความเครียด
เด็กจะมีความเครียดได้เมื่อเผชิญกับเหตุการณ์ที่ทำให้เด็กสูญเสียการควบคุม
Pain
การหาสาเหตุของความเจ็บปวด เพื่อเป็นข้อมลู
การบรรเทาความเจ็บปวดและการประเมินผล
Separation Anxiety
มี 3 ระยะ
ระยะประท้วง
ปฎิเสธการดูแล
จะต่อสู้ ไม่สามารถปลอบให้หายเศร้าได้
เด็กจะร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้องเรียกบิดามารดา
ระยะปฎิเสธ
เด็กจะสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
เด็กจะแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่าบิดามราดาจะมาหรือไป
แสดงการปฎิเสธต่อบิดามารดา
มีการเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อบิดามารดา
ระยะหมดหวัง
ถอยหนีจากผู้อื่น เศร้าโศกอ้างว้าง แยกตัวเองและเฉยเมย
เด็กจะยอมร่วมมือกับการรักษาที่เจ็บปวดต่อต้านเพียงเล็กน้อย
เศร้าซึม
สิทธิเด็ก
หมายถึง บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส มีอำนาจอันชอบธรรม
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ป้องกันภาวะวิกตที่อาจเกิดขึ้นได้และส่งเสริมให้เด็กและคอบครัวดูแลการเจ็บป่วยขั้นต้นได้
ส่งเสริมทางด้านจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกในครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะวกฤตได้
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ
ระยะเรื้อรัง
การลดความรู้สึกที่แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
การช่วบเหลือพ่อแม่ให้ปฎิบัติอย่างปกติ
คิดเชิงบวก มีความสามารถและร่วมมือ
เด็กที่พัฒนาความเป็นอิสระอย่างดีจากพ่อแม่จะปรับตัวต่อความเจ็บปวดเรื้อรังได้ดี
ระยะสุดท้าย
ปฎิกิริยาตอบสนองด้านอารมณ์ เป็น 5 ระยะ
ระยะต่อรอง
ระยะซึมเศร้า
ระยะโกรธ
ระยะยอมรับ
ระยะปฎิเสธ
ความตาย
วัยทารก ไม่มามารถรับรู้หรือเข้าใจเกี่ยวกับความตาย
วัยหัดเดิน การสูญเสียผู้ดูแล มองหาความปลอดภัย
วัยก่อนเรียน การตายเหมือนการนอนหลับ
วัยเรียน ความตายเป็นการจากไปอย่างถาวรแล้วไม่กลับมาอีก
วัยรุ่น ความตายเป็นการจากไปอย่างถาวรและหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ยอมรับการจบชีวิตลง
เป้าหมายการดูแลเมื่อเด็กเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต
การดูแลพ่อแม่
จัดการดับความเจ็บปวด
การดูแลพี่น้องเด็ก
การดูแลหลังเด็กเสียชัวิต
ผู้ที่แจ้งข่าวร้ายควรเป็นผู้รับผิดชอบดูแลเด็ก