Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช - Coggle Diagram
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช
สิ่งแวดล้อมบำบัด
หมายถึงการจัดสิ่งแวดล้อมมุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษาผู้ป่วย
แนวคิดและหลักการ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีโอกาสได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
องค์ประกอบ
ความปลอดภัย (safety)
โครงสร้าง (structure)
บรรทัดฐานทางสังคม (norms)
ความสมดุล (balance)
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (limit setting)
มีพฤติกรรมความรุนแรง
มีพฤติกรรมการทำร้ายร่างกาย
มีภาวะมึนงง เพ้อ สับสน
มีความคิดหนีออกากโรงพยาบาล
วิธีกำจัดสิทธิ
การจำกัดด้วยวาจา
การกำจัดขอบเขต
ผู้ยึดผู้ป่วย
การนำเข้าห้องแยก
การใช้ยา
กลุ่มกิจกรรมบำบัด
องค์ประกอบ
กิจกรรม
สถานที่
ผู้นำสมาชิก
ผู้ช่วยผู้นำ
สมาชิก
ข้อดี
ประหยัดเวลา
เกิดการแรกเปลี่ยนความคิดในสมาชิก
ส่งเสริมผู้ป่วยเกิดความรู้และเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ข้อเสีย
อาจเกิดเล่าเรื่องเท็จ
เรื่องส่วนตัวอาจถูกเปิดเผยควรตั้งกติการ
ลักษณะของผู้ป่วย
Dominant patient
uninvolved patient
hostile patient
distracting patient
ขั้นตอน
เตรียมการ
ดำเนินการ
ประเมิน
พฤติกรรมบำบัด
คือ มุ้งเน้นการควบคุมพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
ทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั่งเดิม
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การเรียนรู้ทางสังคม
ขั้นตอน
เก็บข้อมูลและทำ Functional analysis
ตั้งวัตถุประสงค์ร่วมกับผู้ป่วย 6 ประการ
จุดประสงค์ตรงกับความต้องการผู้ป่วย
ผู้ป่วยเต็มใจรักษา
จุดประสงค์นั้นสามารถดำเนินให้บรรลุได้โดยมีเกณฑ์ประเมิน
ร่วมกับผู้ป่วยเลือกกลวิธีการรักษา
ดำเนินการตามที่วางแผน
การประเมินผลและการยุติการรักษา
เทคนิคและวิธีการ
self Monitoring
reimforcement
punishment
shaping teachique
counter conditioning
modeling technique
assertive training
การนำพฤติกรรมไปใช้ในการรักษา
conduct behavior
ผู้ป่วย depend on alcohol,drug abuse
เด็กปัญญาอ่อน (mental retardatation) ให้เสริมแรงบวก
obesity
phobia
psyschogebic pain
schizophrenia parohoid sociopathy
การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม ( CBT )
ประเมิน
การแลกเปลี้ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์
การฝึกทักษะ
การสร้างเสถียรภาพทักษะและการฝึกประยุกต์ใช้
การประยุคต์ใช้โดยทั่วไป
การประเมินหลังการบำบัดและติดตาม
จิตบำบัด
บำบัดแบบหยั่งเห็น
แก้ปัญหาความขัดแย้งของจิดใจเฉพาะเรื่อง
แก้กลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
ช่วยห้ผู้ป่วยเข้าใความจริงของชีวิต
บำบัดแบบประคับประคอง
บรรเทาอาการโดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
แก้ปัญหา/ความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
ช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
เพิ่มพลังและประคับประคองให้การทำงานของจิต
วิธีการของจิตบำบัด
ให้ความเชื่อมั่น ให้กาลังใจ (Reassurance)
ให้การสนับสนุน (Encouragement)
ให้แนวทาง การแนะแนว (Guidance)
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก (Externalization of Interest)
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม (Environment manipulation)
การแนะนา (Suggest)
การชักชวน จูงใจ (Persuasion)Persuasion)
การระบายอารมณ์ (Ventilation)
การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง (Desensitization)
วิธีการบำบัดตามทฤษฏีของโรเจอร์ส
สร้างบรรยากาศให้การช่วยเหลือ
ให้ความจริงใจ
ให้การยอมรับ
แสดงความเอื้ออาทรใส่ใจ
ให้ผู้ป่วยเกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างของตน
ให้ผู้ป่วยสารวจตนเองและเปิดเผยเรื่องราวประสบการณ์
ให้ผู้ป่วยพิจารณาจนเกิดความเข้าใจและยอมรับสภาพปัญหาตามความเป็นจริงและกำหนดเป้าหมายตลอดจน หาแนวทางในการแก้ปัญหา
ให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนด
ลักษณะของการบาบัดทางจิต
จิตบาบัดรายบุคคล (Individual Psychotherapy)
จิตบาบัดกลุ่ม (Group Psychotherapy)
ชนิดของจิตบำบัดกลุ่ม
Didactic group (กลุ่มการสอน)
Therapeutic Social Club (กลุ่มพบปะสังสรรค์)
. Repressive interaction group (กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด)
interaction group (กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี)
Psychodrama (กลุ่มละครจิตบำบัด)
วิธีการ (Methods)
Directive Methods (วิธีการแบบนาทาง)
. Nondirective Methods (วิธีการแบบไม่นาทาง)
การดำเนินกลุ่มจิตบำบัด
ระยะเริ่มต้นกลุ่ม
ระยะกลางดำเนินการ
ระยะสุดท้าย
การทำกลุ่มบำบัดให้ประสบความสำเร็จในการบำบัดรักษา
ทุกคนมีสิทธิที่จะป่วยเหมือนกัน
การได้ระบาย (Expression)
การเข้าใจตนเอง (Self Understanding)
การรับผิดชอบตนเอง (Self Responsibility)
สร้างความหวัง (Instillation of Hope)
การเห็นประโยชน์ของผู้อื่น (Altruism)
มีความสามัคคีของกลุ่ม (Group Cohesiveness)