Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ และผู้ป่วยจมน้ำ -…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ และผู้ป่วยจมน้ำ
การบาดเจ็บกระดูกและข้อ
สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วย
อุบัติเหตุจราจร
การทำงาน
อุบัติเหตุ
การเล่นกีฬา
มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บอื่น
การบาดเจ็บช่องอกช่องท้อง
การบาดเจ็บศีรษะ
ผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูก
Pelvic fracture ต้องระวังเรื่องการเสียเลือดจนอาจทำให้เกิดHypovolemic shock ได้
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม ปวดมาก
ต้องพึงระวัง ภาวะCompartment syndrome
กระดูกหัก Multiplelong bone fracture
มีโอกาศเกิดPulmonary embolism และเสียชีวิตได้
Primary survey และ Resuscitation
ปัญหาสำคัญ
การเสียเลือดจากการบาดเจ็บและเกิดภาวะ Hypovolemic shock การ control bleeding ได้ดีที่สุด คือ direct pressureด้วย Sterilepressure dressing
ผู้ที่กระดูกผิดรูป
ใส่ Spilnt ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำเเหน่งที่กระดูกหัก เพื่อลดการขยับเลื่อนให้ปวดน้อยที่สุด
Secondary survey
1.ซักประวัติ
สาเหตุการเกิด
ถูกยิง
ถูงแทง
รถยนต์ชน
ระยะเวลา
Open fracture ที่นานกว่า 8 ชั่วโมงบาดแผลจะกลายเป็น Infected wound
สถานที่
อุบัติเหตุในน้ำสกปรก คูน้ำ
การรักษาเบื้องต้น
การใส่ Splint การใส่ traction การรับยาปฏิชีวนะ
2.การตรวจร่างกาย
2.1การตรวจรักษา Life threatening และ Resuscitation
2.2การตรวจร่างกายเพื่อ Screening test
กระดูกแขนขา โดยให้ผู้ป่วยยกแขนทั้งสองข้าง หากพบว่าผู้ป่วยสามารถยกแขนทั้งสองข้างได้ตามปกติ แสดงว่าผู้ป่วยไม่น่าจะมีกระดูกหัก
กระดูกซี่โครง หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บ แสดงว่าอาจเกิดการหักของกระดูกซี่โครง
กระดูกสันหลัง ให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงาย ทำได้แสดงว่า อาจไม่มีการหักของกระดูกสันหลังส่วนคอ
2.3การตรวจอย่างละเอียด
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน(Crepitus)
3.การเอกซ์เรย์เพื่อยืนยันการบาดเจ็บของกระดูก
Definitive care
1.Recognition
เป็นการตรวจประเมินกระดูก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา
2.Reduction
การจัดกระดูกให้เข้าที่ ทำโดยแพทย์
3.Retension
Immobilization
การประคับประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด
หากพบกระดูกมีการผิดรูป ให้จัดกระดูกให้เข้าที่อย่างเบามือ
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
1.Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ต้องคำนึงถึงภาวะ Unatsble pelvic fracture
การตรวจร่างกาย
ดู ScrotumและPerineum บวม
คลำกระดูก Pelvic แตก มีเลือดออกบริเวณUrethral meatus
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
การช่วยเหลือเบื้องต้น
การControl bleeding
2.Major Arterial Hemorrhage
การบาดเจ็บแบบ Blunt trauma ทำให้มีการเสียเลือดจำนวนมากเกิด Hypovolemic shock ได้
ลักษณะของการบาดเจ็บ
Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลำได้ thrill
ฟังได้ bruit
3.Crush Syndrome
ภาวะบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
ทำให้เซลล์กล้ามเนื้อขาดเลือดและตาย แล้วปล่อยMyoglobin เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
อาการที่พบ
Drak urine, Myoglobin ได้ผลบวก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
เเพทย์พิจารณาให้ Sodium bicarbonate เพื่อช่วยลดMyoglobin ที่ไปทำลายTubular system
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
การจมน้ำ
พบได้บ่อยและมีความรุนแรง
มักจะตายภายใน 5-10 นาที จากขาดอากาศหายใจ เพราะสำลักน้ำ
อาจตายจากภาวะเเทรกซ้อนภายหลังได้ เช่น ปอดอักเสบ ภาวะเลือดเป็นกรด ภาวะปอดบวมน้ำ ภาวะปอดไม่ทำงาน
พยาธิสภาพ
น้ำทะเล
มีความเข้มข้นมากกว่าเลือดที่ปอดจะดูดซึมน้ำเลือด จากกระเเสเลือดเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง ระดับเกลือเเร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ภาวะช็อก
น้ำจืด
ความเข้มข้นน้อยกว่าเลือดที่ปอดจะถูกดูดซึมเข้ากระเเสเลือดทันทีปริมาตรเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มขึ้นจากเดิม มีผลทำให้ระดับเกลือเเร่ในเลือดลดลง ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดเเดงแตก
อาการ
หมดสติ
ถ้าไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน
อาจพบภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันเลือดต่ำ หรือภาวะช็อก
หยุดหายใจ
หัวใจหยุดเต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพของผู้จมน้ำ
1.สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
1.3Diving reflexes
1.4สุขภาพผู้จมน้ำ
1.2การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
1.5การรับประทานอาหารที่อิ่มใหม่ๆ
1.1อายุ
1.6การมึนเมาจากสุรา
1.7ความรู้ในการว่ายน้ำ
2.อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
การสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงอย่างรวดเร็วทั้งในเลือดเเละสมอง
ข้อดีคือ การเผาผลาญลดลงbrain anoxia ช้าลง
มีผลทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ และตายได้
3.ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
4.การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง
CPR ภายใน10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาศรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ
1.ระบบทางเดินหายใจและปอด
1.1ผู้ป่วยมีการสูดสำลักน้ำเข้าไปจะเกิดพยาธิสภาพกับปอดอย่างรุนแรง
1.1.1Tonicity ของสารน้ำ
Hypotonic solution ได้แก่ การจมน้ำจืด เกิดAtelectasis ตามมา
Hypertonic solution ได้แก่ การจมน้ำทะเล เกิด Pulmonary damage
1.1.2Toxicity
1.1.3Particles และ micro-organism
1.2ผู้ป่วยที่ไม่มีการสำลักน้ำ
เกิด neurogenic pulmonary edema จากภาวะสมองขาดออกซิเจน ไปกระตุ้น Hypothalamus และระบบประสาท Sympathetic ทำให้ peripheral vasoconstriction เกิด Blood flow ที่ปอดเพิ่มขึ้น
2.การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
การจมน้ำทำให้เกิด cerebral hypoxia ภาวะสมองบวม ภาวะ circuratory arrestme ทำให้ cerebral arrest ลดลง เกิด Ischemic brain
3.การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดเเละหัวใจ
น้ำจืด
น้ำจืดมีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด น้ำจืดที่ปอดจำนวนมากจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระเเสเลือดทันที ปริมาตรเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม(hypervolemia)มีผลทำให้ระดับเกลือเเร่ในเลือดลดลง ทำให้หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะหรือหัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก(hemolysis)
น้ำทะเล
มีความเข้มข้นมากกว่าในเลือด น้ำเค็มที่ปอดจำนวนมาก จะดูดซึมน้ำเลือดจากกระเลือดเข้าไปในปอดทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ ระบบไหลเวียนเลือดมีปริมาตรลดลง ระดับเกลือเเร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ภาวะช็อก
4.การเปลี่ยนแปลงของเกลือเเร่และกรดด่างในเลือด
4.1acidosis จากเยื่อบุถุงลมอักเสบ ถุงลมขาด
4.2
น้ำจืด
เกิด hyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia
น้ำเค็ม
เกิด hypernatremia, hyperchloremia, hypermagnesemia
5.การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในร่างกาย
อุณหภูมิร่างกายจะต่ำลงตามอุณหภูมิของน้ำที่ผู้ป่วยเเช่
เด็กอุณหภูมิของร่างกายลดลงเร็วกว่าผู้ใหญ่มาก เพราะพื้นที่ผิวกายภายนอกต่อน้ำหนักตัวเด็กต่างกับผู้ใหญ่
การปฐมพยาบาล
1.คนจมน้ำรู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
แนะนำให้ไปพบเเพทย์เพราะอาจเกิดภาวะเเทรกซ้อน
2.ผู้ป่วยหยุดหายใจ
ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
อย่ามัวเสียเวลาพยายามเอาน้ำออกจากปอดของผู้ป่วย เพราะไม่ได้ผล
3.คลำชีพจรไม่ได้หรือหัวใจหยุดเต้น
ให้ทำการนวดหัวใจทันที
4.ถ้าผู้ป่วยหายใจเองได้
จับผู้ป่วยนอนตะเเคงข้าง เพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก
ใช้ผ้าห่มคลุม เพื่อให้เกิดความอบอุ่น
อย่าให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหรือกินอาหารทางปาก
5.ส่งผู้ป่วยที่จมน้ำไม่ว่าอาการจะหนักหรือเบาไปพักรักษาที่โรงพยาบาลทุกราย