Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๗ การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ ๗
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดและหลักการบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่สําคัญ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)คือการวางแผน(Plan) การปฏิบัติ(Do) การตรวจสอบ(Check) และการปฏิบัติจริง(Act) หรือ PDCA
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran) โดยจูแรนกล่าวว่า“คุณภาพมิใช้อุบัติเหตุ แต่เกิดจากการวางแผนอย่างระมัดระวัง”
๑) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพ
๓) การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement)
๒) การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
การทําตามมาตรฐาน การแก้ไขปัญหาคุณภาพ การทําให้ถูกตั้งแต่แรก และการยึดเป้าหมายของเสียเป็นศูนย์
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน
(Continuous quality improvement ,CQI)
เป็นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ในการปรับปรุงระบบงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับผลงานอย่างไม่หยุดยั้ง โดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(Nursing Quality assurance)
การประกันคุณภาพการพยาบาล (Nursing Quality assurance) คือลักษณะต่างๆของวิชาชีพการพยาบาลที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นคงและเกิดการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการอย่างดีเลิศ
สภาการพยาบาลได้กล่าวว่า การประกันคุณภาพการพยาบาล คือ
กระบวนการดําเนินงานอย่างมีแบบแผนและมีกิจกรรมเป็นขั้นตอนต่อเนื่อง เป็นระบบในการวัดและประเมินคุณภาพบริการพยาบาล
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ
เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนดขึ้น
เพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริการพยาบาลให้ดีขึ้น
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาล
แนวคิดการประกันคุณภาพในยุคเดิม
พัฒนามาตรฐาน
มีการตรวจสอบรวบรวมข้อมูล
รายงานผลการตรวจสอบ
แนวคิดของการประกันคุณภาพการพยาบาลในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๒ – ๑๙๙๒ สมาคมพยาบาลอเมริกัน (American nurses association : ANA) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานเพื่อเป็นการพัฒนาการพยาบาลและการประเมินคุณภาพแต่ยังเป็นการดําเนินการเฉพาะเรื่อง
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาลเน้นที่กระบวนการ ซึ่งจะทําให้มีคุณภาพ โดยการประเมินคุณภาพและนําผลมาพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพทั้งองค์การเป็นการแก้ปัญหาทั้งระบบมากกว่าแก้จุดเล็ก ๆ
รูปแบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
รูปแบบที่ ๑. การประกันคุณภาพของโรแลนด์
การกําหนดวัตถุประสงค์
การออกแบบกระบวนการ
การเตรียมข้อมูลภายในหน่วยงาน
การเปรียบเทียบสารสนเทศที่ได้กับหน่วยงานอื่น
นําแนวคิดที่ได้หรือข้อมูลจากการประเมินมาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขงาน
ในกรณีที่เกณฑ์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ จะต้องมีการปรับให้สามารถวัดและ ประเมินผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และเริ่มต้นวงจรใหม่
รูปแบบที่ ๒. การประกันคุณภาพการพยาบาลขององค์การอนามัยโลก (๑๙๙๕)
สร้างเครื่องบ่งชี้คุณภาพ
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
ประเมินค่าการวัด
ปรับปรุงคุณภาพ
รูปแบบที่ ๓ การประกันคุณภาพการพยาบาลของสมาคมพยาบาลอเมริกัน (American nurses association : ANA)
สร้างความรู้สึกต่อคุณภาพ
กําหนดมาตรฐานและเกณฑ์
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผล
ค้นหาแนวทางปรับปรุง
เลือกวิธีการปรับปรุง
รูปแบบที่ ๔ การประกันคุณภาพการพยาบาลของคณะกรรมการร่วมเพื่อการรับรององค์การ บริการสุขภาพ(The Joint Commission On Accreditation of Healthcare Organization : JCAHO)
มอบหมายความรับผิดชอบ
เขียนขอบเขตของการพยาบาลและบริการที่ให้
ระบุจุดสําคัญของการพยาบาลและบริการที่ให้
ระบุตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดจุดสําคัญของการพยาบาล
กําหนดระดับของการรับรอง
กําหนดคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล และการจัดระเบียบข้อมูล
การประเมินคุณภาพการพยาบาลโดยการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลข้อมูล
ปฏิบัติการทันทีเพื่อแก้ปัญหาที่พบจากการประเมิน
ประเมินผลการปฏิบัติการเพื่อแก้ปัญหาและทําการบันทึก
รายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องแก่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพขององค์กร
ระบบการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพภายนอก (External quality assurance)
การประกันคุณภาพภายใน(Internal quality assurance)
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
การกําหนดมาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล(Nursing Audit)
การพัฒนาคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพ(Quality improvement)
มาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
แนวทางการกําหนดมาตรฐานการพยาบาล