Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ (เพิ่มเติม)
Hepatitis
สาเหตุ
การเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ
การบาดเจ็บที่ตับ
ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับ
ตับอักเสบที่พบบ่อย
Hepatitis A Virus (HAV)
Hepatitis B Virus (HBV)
Hepatitis Non A Non B (HepatitisCVirus)
พยาธิสภาพ
การอักเสบของ cell ตับ จะมีลักษณะ huperpasia ร่วมกับมีการคั่งของน้ำดี
เกิด necrosis ตามมา ซึ่งระยะในการอักเสบ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Prodomal Stage : 3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง อาการสำคัญคือเบื่ออาหาร คลื่นไส้
อาเจียน ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ อาจมีปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือกดเจ็บ ในระยะท้ายๆ
มีปัสสาวะสีโคล่า เนื่องจากมี bilirubin สูง และอุจจาระซีด ใน HAV มีอาการรุนแรงน้อยกว่า HBV
Icteric Stage : ระยะตา ตัวเหลือง นาน 1 – 4 สัปดาห์ อาการต่างๆ ในระยะแรกจะหายไป แต่มีอาการตัว ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต
Recovery Period : ระยะพักฟื้นใช้เวลา 3 – 4 เดือน โดยทั่วไปผู้ป่วยยจะมีอาการดีขึ้น และหายเป็ นปกติ ใช้เวลา 6 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้นอาจมีภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
ดูแลให้ผู่ป่วยได้รับการพักผ่อนเต็มที่ งดการทากิจกรรมใดๆ
ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน โดยจัดสิ่งแวดล้อมและอาหารที่ไม่กระตุ้นความรู้สึกอยากอาเจียน ถ้ามีอาการ การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลต์ทางหลอดเลือดตามแผนการการรักษา
ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด และสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
Ebola virus disease
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
การป้องกัน
กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน
แยกผู้ป่วยและการสวมเสื้อผ้าป้องกัน
ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสิ่งคัดหลั่งที่ติดเชื้อ
พยาธิสรีรวิทยา
หลังติดเชื้อมีการสร้างไกลโคโปรตีนที่หลั่งออกมาชื่อ อีโบลาไวรัสไกลโคโปรตีน ก่อเป็นกลุ่มรวมไตรเมอร์ ซึ่งยึดไวรัสกับเซลล์เนื้อเยื่อบุโพรงตามผิวด้านล่างของหลอดเลือด sGP ก่อโปรตีนไดเมอร์ (dimer) รบกวน neutrophil ไวรัสแพร่กระจายปุ่มน้ำเหลือง ตับ ปอดและม้าม
เกิดการปล่อยไซโทไคน์ ทำให้ความแข็งแรงของหลอดเลือดเสียไปส่งเสริมด้วยการสังเคราะห์ GP ซึ่งลดอินทีกรินนำไปสู่ลิ่มเลือดผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
หลายอวัยวะล้มเหลว
เลือดออกรุนแรง
ดีซ่าน
สับสน
ชัก
โคม่าหมดสติ
ช็อค
การรักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
Human influensa
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C
A แหล่งเชื้อโรค คือ นกน้ำตามธรรมชาติ
ระยะฟักตัวของโรค 1- 4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่
Onset of Symptoms
about 1 to 4 days, with an average of about 2 days.
อาการและอาการแสดง
Fever or feeling feverish/
Cough
Sore throat
Runny or stuffy nose
Muscle or body aches
Headaches
Fatigue
การแพร่กระจายเชื้อโรค
การระจายเข้าสู้คนทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่างที่ปนเปื้อนเชื้อ
การพยาบาล
พักผ่อนมากๆและอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ลดไข้ผู้ป่วย
การล้างมือ
กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย
ควรดื่มน้ำมากๆ
ปิดจมูกปากเวลาไอหรือจามและบ้วนน้ำลายลงในภาชนะที่ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค
ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว จนกว่าจะหายเป็นปกติ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบหัวใจ
Myocarditis,Pericarditis
Pericarditis
ระบบประสาท
Encephalitis
Guillain Barre Syndrom
ระบบทางเดินหายใจ
Ottitis media
Pneumonia
Avian influenza
ระยะฟักตัวในคนสั้นประมาณ 1 ถึง 3 วัน
อาการ
มีไข้สูงหนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย
กล้ามเนื้ออ่อนเพลียมีน้ามูกไอและเจ็บคอ
บางคร้ังพบว่ามีอาการตาแดง
อาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรงถึงปอดบวมและเกิดระบบหายใจล้มเหลว
การวินิจฉัย
มีไข้สูงมากกว่า38 องศา
มีอาการทางเดินระบบหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ และประวัติสัมผัสกับสัตว์ปีกเป็นโรค หรือสัมผัสกับคนป่วยภายใน 10 วันก่อนเกิดอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่งเช่นเสมหะ น้ำมูก
การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธีPCR influenza type A ให้ผลบวก
วิธีการป้องกัน
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้อย่างรีบด่วน
ฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันไข้ ใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่ต้องสงสัยว่าเป็นไข้หวัดนก ออกจากผู้ป่วยอื่นทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
ผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือจามต้องใช้
Tissue ปิดปากและจมูก
จัดให้มี Alcohol สำหรับเช็ดมือ
แยกผป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย3 ฟุต
วิธีการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ให้ผู้ป่ วยนอนห้องแยก
หากต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง
ห้ามแพทย์หรือญาติที่เป็นหวัด เยี่ยมผู้ป่วย
หากจะเข้าผู้ป่วยน้อยกว่า 3 ฟุตต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกคร้ัง
ผู้ที่จะเข้าไปดูแลผู้ป่วยต้องถุงมือ เสื้อคลุมทุกคร้ัง และถอดออกเมื่อออกนอกห้อง
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วยทุกคร้ัง
SARS
สาเหตุ:เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนา
ระยะฟักตัวของโรค:จะใช้เวลาประมาณ 2 ถึง 7 วันโดยทั่วไปมักไม่เกิน 10 วัน
การติดต่อ:สัมผัสกับผู้ป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น น้ำลาย น้ำมูก
อาการ
ไขสูงงมากกว่า38 องศาเซลเซียส
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ปวดศีรษะมาก
หนาวสั่น
อาการเจ็บคอ ไอแห้ง ๆ
ปอดบวมอักเสบ
อาการหายใจลำบาก
MERS-CoV
MERS-CoV หรือ EMC/2012 (HCoV-EMC/2012)
ระยะฟักตัว
ตั้งแต่ 2 – 14 วัน
ดังนั้นหากผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส
ไอ หอบ หายใจเร็วภายใน 14 วัน
ก่อนหน้ามีประวัติเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค
อาการแสดง
ไข้สูง อาการไอ หายใจหอบมากกว่า 28 ครั้ง
Oxygen saturation น้อยกว่า90
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบ ไตวายทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรุนแรง(Severe Acute Respiratory Distress Syndrome :ARDS)จนทำให้เสียชีวิตในที่สุด
บางรายอาจมีอาการทางระบบทางเดินอาหารร่วมด้วย เช่นคลื่นไส้ อาเจียน ถ่าย
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลัน
ควรล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วยหรือสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยรวมทั้งก่อนรับประทานอาหาร และหลังขับถ่าย
หลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่แออัดหรือที่สาธารณะที่มีคนอยู่จำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
แนะนำให้ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัยปิดปากปิดจมูกเวลาไอหรือจาม
ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
การดูแลและรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
การรักษาตาอาการ
การให้ยาต้านไวรัส
Covid-19
ระยะฟักตัว
2-14 วัน
แพร่โรคได้เมื่อมีอาการและอากรแสดงแล้วเท่านั้น
ระยะฟักตัวเฉลี่ย 5.2 วัน
ช่องทางการแพร่เชื้อโรค
รูปแบบการระบาด คนสู่คน
ละอองเสมหะเป็นช่องทางหลัก
เชื้อขับออกทางอุจจาระได้
การขยี้ตา(เชื้อผ่านเยื่อบุตา) สัมผัสใบหน้าและปาก
นิยาม
กรณีที่ 2 การเฝ้าระวังที่สถานพยาบาล
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิตั้งแต่ 37.5 องศำเซลเซียสขึ้นไป
หรือให้ประวัติว่ามีไข้ในการป่วยครั้งนี้
ร่วมกับมีอาการของระบบทำงเดินหายใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ไอ น้ำมูก
เหนื่อย หรือ หายใจลำบาก
ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ
มีประวัติในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่มป่วยอย่างใดอย่างหนึ่งเหมือนกับกรณีที่1
กรณีที่ 1 การเฝ้าระวังที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ไอ น้ำมูกเจ็บคอ หายใจเหนื่อย หรือ หายใจลำบาก
มีประวัติเดินทางไปยังหรือมาจากหรืออยู่อาศัยในพื้นที่ที่มีรายงานการระบาดต่อเนื่องของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
มีผู้อาศัยร่วมบ้านเดินทางกลับมาจากที่ที่มีรายงานการระบาดต่อเนื่องของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019
เป็นผู้ที่ประกอบอาชีพที่สัมผัสหรือใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวต่างชาติ
มีประวัติใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
เป็นบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุขที่สัมผัสกับผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
มีประวัติในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่มป่วยอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
กรณีที่ 3 การเฝ้าระวังที่สถานพยาบาล
ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ
ร่วมกับมีอาการ ประวัติดังต่อไปนี้
ใกล้ชิดผู้สงสัยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่มป่ วย
เป็นบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข
รักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้น
หาสาเหตุไม่ได้
อาการรุนแรง หรือ เสียชีวิตโดยหาสาเหตุไม่ได้
กรณีที่ 4 การป่วยเป็นกลุ่มก้อน
กลุ่มก้อนของผู้ที่มีอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
ที่ตรวจ rapid test หรือ PCR ต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่แล้วให้ผลลบทุกราย
กรณีเป็นบุคลากรทางการแพทย์ ตั้งแต่ 3 รายขึ้นไป ในแผนกเดียวกั้ฃในช่วงสัปดาห์เดียวกัน
กรณีในสถานที่แห่งเดียวกัน (ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์) ตั้งแต่ 5 รายขึ้นไปในช่วงสัปดาห์เดียวกัน
อาการและอาการแสดง
Neurology :ปวดศีรษะ
Circulatory: เม็ดเลือดขาวลดลง
Digestive:อุจจาระร่วง
Systemic:ไข้ อ่อนเพลีย
Excretory
Severe case:ไตวาย
การทำงานของไตลดลง
Respiratory
ไอ จาม
น้ำมูกไหล
หายใจลำบาก หายใจหอบเหนื่อย
เจ็บคอ
Severe case
ปอดบวม
โรคระบบทางเดินหานใจรุนแรงเฉียบพลัน
ปอดอักเสบและน้ำท่วมปอด