Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อกับการตั้งครรภ์
ไวรสัตับอักเสบบี(Hepatitis B)
การวินิจฉัย/คัดกรองการติดเชื้อ
Anti HBc-IgG: พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรังหรือแม้แต่ผู้ทีตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBc-IgM: พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBs: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBsAg ในเลือดแล้ว หรือเป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ
Anti HBC เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAg : บ่งบอกถึงความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบ B
HBsag : บ่งบอกถึงการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ B
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
Hx. ประวัติการได้รับวัคซีน
อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นใส้อาเจียน ตัวเหลืองตาเหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกันการแพร่กระจาย
Universal Precaution
ติดตามความก้าวหน้าไม่กระตุ้นคลอด
Suction ทารกให้เร็ว
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
ผลกระทบการติดเชื้อไวรสัตับอักเสบบี
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
ตกเลือดก่อนคลอด
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้อาเจียน ปัสสาวะสีเข้ม ขุ่น ปวดท้อง
ถ้าหญิงตั้งครรภ์เป็นโรคตับอักเสบบีเฉียบพลัน ในไตรมาสที่ 1 และ 2 จะถ่ายทอดเชื้อไวรัส สู่ทารกได้ร้อยละ 10 ถ้าหญิงตั้งครรภ์เป็นโรคตับอักเสบบีเฉียบพลัน ในไตรมาสที่ 3 จะถ่ายทอดเชื้อไวรัส สู่ทารกได้ร้อยละ 75
ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการตัวเหลืองตาเหลืองร่วมด้วย
แนวทางการรักษา
ระยะก่อนคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติการ การเจาะน้ำคร่ำ
หาปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000
TDF 300 mg วันละ 1ครั้ง
ระยะหลังคลอด
ติดตาม ตรวจดูระดีบ ALT
Exclusive breastfeeding
ควรรับประทาน TDF 300 mg วันละ 1ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
universal precaution
HBIG (400IU)ทันทีหรือภายใน 12ชั่วโมงหลังคลอด
ภายใน 7 วัน และให้ซ้ำ 4
ภายใน 1 เดือนและ 6 เดือน
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกที่ติดเชื้อในร่างกาย อาจมีตุ่มใสๆตามร่างกาย
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการ systemic ร่วมด้วย เช่น ไข้ ปวดเมื่อตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากการร่วมเพศ
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อเริม
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ เช่น การตรวจภายใน
หลักเลี่ยงเจาะถุงน้ำคร่ำ
ทำความสะอาดทารกหลังคลอด
ประคับประคองจิตใจ กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก ให้ข้อมูลที่เป็นจริง รวมทั้งโอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อ
แนะนำให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ควรล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสหรือให้นมบุตร
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการแพร่เชื้อไปยังทารก
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล
ควรใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ดูแลให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ0.9 % วันละ2-3ครั้ง
ออกกำลังกายเป็นประจำ และตรวจสุขภาพประจำปี
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตก
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ
Cytology
การรักษา
ควรให้ ATB
ดูแลแผลให้สะอาด
ในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์โดยมี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอด
ให้ Antiviral drug เช่น acyclovir , Valacyclovir
Rubella
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำ ปวดศรีษะ ตาแดง ปวดกล้ามเนื้อ
ก่อนมีผื่น 1-2 วัน
พบจุดสีขาว เหลือง ขนาดเล็กๆ คล้ายเม็ดงา อยู่ที่กระพุ้งแก้ม
คือKoplik's spot
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกายว่ามีผื่นหรือไม่
ส่งตรวจทางห้องปฎิบัตรการELISA
การตรวจ IgM และ IgG specific antibody
การส่งตรวจระดับ IgG ทันทีทีมีผืนขึ้นหรือภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มของระดับไตเตอร์
ภาวะแทรกซ้อน
หูหนวก
ต้อกระจก
หัวใจพิการ
การรักษาพยาบาล
แนะนำให้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ, ดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้าพบว่าเป็นโรคหัดเยรมัน ในระยะ 3 เดือนแรกแพทย์แนะนำให้นำเด็กออก
ในรายที่ไม่ต้องการยุติแพทย์อาจพิจารณา ฉีดยาImmunoglobulin .ให้กับผู้ป่วย
ถ้ามีไข้แนะนํารบัประทานยา paracetamal ตามแพทยส์ั่ง
สาเหตุ
การติดเชื้อสามรถเกิดขึ้นกับการสัมผัสโดยตรงสารคัดหลั่งผู้ติดเชื้อ
ระยะฟักตัวประมาณ 14-21 วัน หลังสัมผัสโรค
โรคหัดเยอรมันเกิดจากการติดเชื้อไวรัสรูเบลลา
ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7 วันก่อนผื่น และ 7 วันหลังผื่น