Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
(O2 saturation) มากกว่า95-100 %
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
ลักษณะการหายใจ หายใจมีเสียงดังคล้ายเสียงคราง(stridor)
อัตราหายใจเร็วกว่าปกติ(tachypnea)
อัตราหายใจช้ากว่าปกติ(bradypnea)
หายใจลำบาก (dypnea)
การหายใจมีปีกจมูกบาน (nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
ขณะหายใจเขาปีกจมูกจะบานทั้ง2ข้างเพื่อขยายท่อทางเดินหายใจ
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
เสียงหายใจผิดปกติ
เกิดจากลมที่เข้าผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีความผิดปกติ
ประกอบด้วยเสียง
stridor sound
เกิดจากมีการตีบแคบของบริเวณหลอดลม
ได้ยินตอนหายใจเข้าและออก
ระดับเสียงสูง(high pitch)มีลักษณะคล้ายเสียงคราง
พบได้บ่อยในเด็กที่เป็นcroup
crepitation sound
เป็นเสียงเเตกกระจ่ายเป็นช่วง
เกิดจากลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำ เสมหะ
พบได้ในภาวะปอดอักเสบ (pneumonia)
rhonchi sound
เป็นเสียงที่เกิดจากมีของเหลวผ่านท่อที่ตีบ
ตีบเเคบจากมีเสมหะอุดตัน
เยื่อบุหายใจบวม
หลอดลมบีบเกร็งจากภูมิเเพ้
wheezing
เป็นเสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด
ได้ยินชัดตอนหายใจออก
พบในผู้ป่วยหอบหืด(bronchial asthma)
เกิดจากภาวะหลอดลมมีความไวในการตีบตัวมากกว่าปกติ(bronchial hyperreactivity)
เเสดงให้รู้ว่าผู้ป่วยได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
กลไกการสร้างเสมหะ
กลไกทางธรรมชาติของร่างกายเพื่อกำจัดสิ่งแปลกปลอม
กระบวนการสร้างสารมูกMucous
การพัดโบกของขนกวัดCilia
กลไกการไอ Cough Reflex
เมื่อมีการติดเชื้อ
ต่อมมสร้างสารคัดหลั่ง(mucus gland)
สร้าง mucous มากขึ้นทำให้เสมหะมากขึ้น
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมและทำลายCilia
จำนวน Ciliaลดลง
เสมหะมีปริมาณมากและเหนียวข้นไม่ถูกพัดออกจากทางเดินหายใจ
ทำให้เสมหะค้างในทางเดินหายใจ
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
เสมหะเป็นมูกคล้ายเเป้งเปียก
ติดรวมกันเป็นก้อน
มีความหนืดมาก
ไอขับออกได้ยาก
เสมหะไม่เหนียว
เสมหะมีลักษณะเป็นเมือกเหลว
ความยืดหนุนน้อย
ไม่รวมเป็นก้อน
ไอขับออกได้ง่าย
Croup
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียง
สาเหตุเนื่องมาจากมีการอักเสบที่บริเวณ
ฝาปิดกล่องเสียง(acute epiglottitis)
กล่องเสียง (acute laryngitis)
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และหลอดลมฝอยในปอด(Laryngotracheobronchitis)
อาการ
inspiratory stridor หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้องBarking cough
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก Dyspnea
น้ำลายไหล(drooling)
อาการจะเกิดขึ้นรวดเร็ว
ไม่ตอบสนองต่อยาพ่น
ต้องพ่นAdrenaline
ต้องใส่Endotracheal tube
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหต
ติดเชื้อแบคทีเรีบ ไวรัสBeta Hemolytic
streptococcus gr. A
อาการ
ไข้
ปวดศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
มีตุ่มใสที่คอหอย เพดานปาก
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
จะทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ในการติดเชื้อเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆ
เจ็บคอ กลืนลำบาก
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
การดูแลหลังผ่าตัดTonsillectomy
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
สังเกตอากาเปลี่ยนแปลงรอย่างใกล้ชิด
เมื่อเด็กรู้สึกตัวให้ลุกนั่ง1-2ชม. อมน้ำแข็ง
หลีกเลี่ยงการแปรงฟังลึกๆ
ให้รับประทานอาหารอ่อน
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อต่างๆ
ทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุโพรงอากาศ
ทำให้เกิดการคลั่งของสารคัดหลั่ง
ทำให้ความดันของโพรงจมูกเป็นลบ
ทำให้การทำงานของciliaผิดปกติ
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน12สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน12สัปดาห์
อาการ
มีไข้สูง39องศา
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อตามตัว
มีน้ำมูกไหล
ไอ
การวินิจฉัย
X-ray paranasal sinus ทำในเด็กอายุ6ปีขึ้นไป
CT scan ได้ผลดีสุด
ตรวจโดยการส่องไฟผ่าน(Transilumination)
การดูแลรักษา
ให้ยา antibioticตามเเผน
ให้ยาเเก้ปวดลดไข้
ให้ยาSteroid เพื่อลดบวม
ล้างจมูก
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ท ำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis)
สร้างเมือกเหนียวจ านวนมาก (Hypersecretion)
การดูแล
ให้ได้รับยาขยายหลอดลม
ได้รับออกซิเจน
ให้พักเพื่อลด activity
รับยาลดบวม
อาการโรคหอบหืด Asthma
ไข้ ไอ มีเสียงWheezing
มีเสมหะ
การรักษาหอบหืด
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น เช่นควันบุหนี่ ฝุ่น
ให้ยาขยายหลอดลม ( Relievers )
ให้ยาลดการบวม
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
เป็ นปัญหาติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
เกิดจากการอักเสบ อุดกั้นของหลอดลม
เชื้อที่เป็นสาเหตุบ่อยสุด Respiratory syncytial virus : RSV
พบบ่อยในเด็กที่ไม่กินนมแม่
พบในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต
อาการ
ไข้หวัดเล็กน้อย
มีนำมูกใส ไอจาม
เบื่ออาหาร
ร้องกวนหายใจเร็ว
การรักษา
ตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ
ดูเเลให้ได้รับน้ำ ออกซิเจน ให้เพียงพอ
ดูเเลการติดเชื้อ
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อ
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เเรกเกิดหายใจเร็ว60ครั้ง/นาที
2เดือน-1ปีหายใจมากกว่า50ครั้ง/นาที
1-5ปีหายใจเร็วมากกว่า40ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction
ดูเเลปัญหาพร่องออกซิเจน
การระบายเสมหะ
จัดท่าผู้ป่วย(Postural drainage)
การเคาะ (Percussion)
การสั่นสะเทือน(Vibration)
สอนไออย่างมีประสิทธิภาพ(Effective cough)
นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท รุ่น36/1 เลขที่44 รหัส612001045