Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 หัวข้อ 5.6โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 5
หัวข้อ 5.6โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 60-150วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการตาตัวเหลือง
ผลกระทบ
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
เเนวทางการรักษา
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติ การเจาะน้ำคร่ำ
หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า200,000IU/mlให้TDF300mgวันละ 1ครั้งGA28-32wk
หลังคลอด
ใช้หลักuniversal precaution
Exclusive breastfeedingหากยังไม่มีรอยแผล
ติดตามระดับALT
TDF300mgวันละ 1ครั้งจนถึง4สัปดาห์หลังคลอด
HBIGทันทีหรือภายใน12hrหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีนภายใน7วัน ให้ซ้ำอีกตอน1เดือนและ6เดือน
หูดหงอนไก่
การรักษา
จี้ไฟฟ้า
แสงเลเซอร์
การพยาบาล
แนะนำการรักษาตวามสะอาดของอวัยวะเพศ
หลีกเบี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
แนะนำการส่งเสริมสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น การจี้ด้วยไฟฟ้า
แนะนำรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ออกกำลังกายที่เหมาะ ลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
อาการและอาการแสดง
คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
ก้อนสีชมพู นุ่ม ขรุขระมีสะเก็ด
หูดขึ้นรอบๆทวารหนักและในทวารหนัก
หัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
มีไข้ต่ำๆ
มีจุดสีขาวเหลืองคล้ายเม็ดงาที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
มีผื่นแดงเล็กๆ
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้อที่ใบหน้าก่อนลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่น จะหายไปใน 3วัน
การพยาบาล
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำอย่างเพียงพอ จิบน้ำบ่อยๆ
รายที่ไม่ยุติการตั้งครรภ์แพทย์จะแนะนำให้ฉีดอิมมูโนโกลบูลิน
หากมีไข้แนะนำให้ทานยาพาราตามแพทย์สั่ง
ระยะ3เดือนแรกแพทย์แนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
หูหนวก
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
ภาวะแทรกซ้อน
ติดตามอัลตร้าซาวน์การเจริญเติบโตของทารกทุก 4 สัปดาห์
การวัดรอบศรีษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเกิด และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 24 ชั่งโมง
ภาวะศรีษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
การพยาบาล
ให้ยาพาราเพื่อบรรเทาปวดลดไข้
ดื่มน้ำปริมาณ 2000-3000ลิตรต่อวัน
พักผ่อนให้เพียงพอ
ยังไม่มียารักษาโรคไวรัสซิก้าโดยตรง
ห้ามทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
ออกผื่นที่ลำตัวและแขนขา
ไข้ ปวดศรีษะ
ปวดตามข้อ
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
ภาวะแทรกซ้อน
มีตุ่มใสๆ
ซึม ตับม้ามโต
ตาอักเสบ
มีไข้ หนาวสั่น
อาการและอาการแสดง
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลียง
การพยาบาล
ระยะคลอด
ใช้หลักuniversal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ุขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ล้างแผลวันละ2-3ครั้งแนะนำการนั้งแช่ก้นด้วนน้ำอุ่น
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
โรคเอดส์
อาการและอาการแสดง
กลุ่ม 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศรีษะ เจ็บคอ ผลCD4ต่ำกว่า 500-200cm3
กลุ่ม 3 มีอาการสัมพันธุ์กับเอดส์ คือ ไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆนานกว่า2-3เดือน เจ็บคอ คลื่นไส้ อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด ท้องเดิน อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เช้อร่วมด้วย
กลุ่ม 1 เป็นกลุ่มที่ไม่ทีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึกหลักใช้หลักuniversal precaution
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ทารกหลังคลอดให้ NPV 2มก/กก/วัน ติดตามการติดเชื้อของทารกหลังคลอด12-18เดือน
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจตืดเชื้อจากแม่ทางน้ำนม
จัดให้อยู่ในห้องแยก
แนะนำการปฎิบัติตัวเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
แนะนำวิธีการปฏิบัตืตัว ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ตรวจหาระดับCD4ต่ำกว่า 400 cm3 อาจพิจารณาให้ PCP
ซิฟิลิส
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1หลังรับเชื้อ 10-90วันแผลริมแข็งมีตุ่มแดง
ระยะที่2 ทั่วตัว ฝ่ามือฝ่าเท้า ปวดข้อ ข้ออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
ระยะที่ 3
ไม่แสดงอาการ
ทำลายอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ สมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
คลอดก่อนกำหนด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์4เดือน
การพยาบาล
ระยะคลอด
ใช้หลักuniversal precaution
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกให้เร็วที่สุด
เจาะเลือดจาดสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะหลังคลอดสามารถให้นมได้ตามปกติ
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำการรับประทานยาและมาตามนัดติดตามผลการรักษา
ระยะตั้งครรภ์
แนะนะให้ฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ6-12เดือน
แนะนำการรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หากมีการติดเชื้อดูแลให้รับยาฏิชีวะตามแผนการรักษา
แนะนำให้พาสามีมาตรวจคัดกรอง
ส่งตรวจVDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์28-32สัปดาห์หรือห่างกันอย่างน้อย3เดือน
ดูแลด้านจิตใจ
อธิบายความสำคัญของการคักกรอง ความเสี่ยงที่มีผลต่อทารก