Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
บุหรี่
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดา
สูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ละอองของเหลว /ทาร์ ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด
และถุงลมโป่งพอง
สารระคายเคือง ระคายเคืองในหลอดลม หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
สารนิโคติน เข้าสู่สมอง ภายใน 7 นาที
ทำให้มีผลต่อระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ขัดขวางการลำเลียงออกซิเจนของ
เม็ดเลือดแดง carboxyhemoglobin ทารก:มารดา 1:4
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
หลอดเลือดหดรัดตัว (vasoconstriction)
ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
ขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรัง มารดาแท้งหรือ-ทารกตาย
ทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการติดบุหรี่
(fetal tobacco syndrome )
แอกอฮอล์หรือสุรา
กลุ่มอาการทารกติดสุรา
(fetal alcohol syndrome=FAS)
มีอาการสั่น นอนหลับได้น้อย ร้องไห้ตลอดเวลา
ท้องอืด มีลักษณะคล้ายหิวนมตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
แนวทางการรักษา
ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
ให้ยาระงับหรือป้องกันการชัก คือ Phenobarbital หรือ diazepam
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดี
ระดับสติปัญญา (IQ) ต่ำ
มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้าอย่างชัดเจน ศีรษะเล็ก
เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
ลักษณะผิดปกติภายนอก
เฮโรอีน
ผลจากการเสพเฮโรอีนในระยะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
ของทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
ภายใน 24-48 ชั่วโมง
มีอาการทางระบบประสาท
มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้ นอนหลับยาก
แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว moro reflex ไม่ดี
ร้องเสียงแหลมและร้องกวนผิดปกติ
มีเหงื่อออก ตัวเย็น
อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่นอาเจียน ท้องเสีย ไม่ยอมดูดนม ขย้อนได้ง่าย ดูดนมมากเกินไป กล้ามเนื้อหน้าท้อง
มีอาการเกร็ง มีภาวะขาดน้ำ ท้องอืด
อาการทางระบบอื่นๆ ที่พบ
มีอาการหายใจเร็วกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็ว เกิดภาวะ
respiratory acidosis ได้
อาการทางผิวหนังที่พบบ่อยๆ คือ มีรอยข่วนที่หน้า
มีแผลบริเวณที่ก้น ซีด ตัวลาย (mottling)
ปัญหาสำคัญ
ร่างกายเสียสมดุลของน้ำและอิเล็คโตรไลท์ จากการท้องเสียและ
อาเจียน
มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำจากการดูดนมได้ไม่ดี
สมองขาดออกซิเจน เนื่องจากระบบประสาทถูกกดและจากการชัก
เกิดแผลถลอกหรือแผลลึกบริเวณจมูก เข่า ข้อศอก ศีรษะ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดา ทารกเป็นไปได้ยาก
แนวทางการรักษา
ให้ยา
ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan เป็นผู้คิดขึ้น
ประเมินความรุนแรงของภาวะถอนยา
โดยประเมินทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมง
อาการดีขึ้น ประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมง
และ4 ชั่วโมงตามลำดับ
ประเมินได้ 7 คะแนนหรือต่ำกว่า ห้ามให้ยากล่อมประสาท
ประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้การรักษา
โดยให้ยาร่วมกับการรักษาทั่วๆไป