Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง
ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
อาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง
ตายคลอด
ตกเลือดก่อนคลอด
แนวทางการรรักษา
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการเพื่อการช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
เลี่ยงการเจาะน้ำคร่ำ
พิจารณาความจำเป็นในการให้ยาต้านไวรัส
หากมารดามีปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL แนะนำ
ให้เริ่มTDF 300 mgในไตรมาสสุดท้ายที่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
ระยะหลังคลอด
รับประทาน TDF 300 mg. วันละ 1ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
HBIG (400IU)ทันทีหรือภายใน 12ชั่วโมงหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีนภายใน 7วันและให้ซ้ำภายใน 1เดือนและ 6 เดือน
ทารก Suction ให้เร็ว หมด ทําความสะอาด :warning:
การพยาบาล
การคัดกรองโดยการซักประวัติ
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
ใช้หลักuniversal Precaution ทั้งในระยะรอคลอดและขณะคลอด
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดไม่กระตุ้นการคลอด :warning:
ดูแลทารกแรกเกิด
ดูดมูกจากปากและจมูกอย่างรวดเร็ว
การทำลายผ้าอ้อม
ทำความสะอาดผิวทารกด้วยน้ำและสบู่และเช็ดช้ำด้วยแอลกอฮอล์ก่อนฉีดวัคซีน
แนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ประเมินภาะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
แนะนำการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
หัดเยอรมัน (Rubella)
การวินิจฉัย
ซักประวัติการสัมผัสโรค
ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ตรวจน้ำลายและการตรวจเลือด
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นๆเช่น แขน ขา และจะค่อย ๆ หายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ในรายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
ซิฟิลิส (Syphilis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การส่งตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
Primary syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน
ระยะที่มีแผลริมแข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ
ริมฝีปาก เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ
ต่อมน้ำเหลืองโตกดไม่เจ็บ
secondary syphilis
2-3 สัปดาห์หลังจากแผลริมแข็งหายแล้ว ผื่นที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน
พบทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้า
อาจมีไข้หรือปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ
ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
latent syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี
ช่วงที่ไม่มีอาการ
tertiary or late syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี
เชื้อจะทำลายอวัยวะภายใน
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกตาบอด
คลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
การรักษา
ระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G แบ่งฉีดสะโพกทั้งสองข้าง
ระยะปลาย
ให้ยา Benzathine penicillin G สัปดาห์ละครั้ง นาน3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ
การป้องกันโรคโดยการสวมถุงยางอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
การติดเชื้อ Herpes simplex virus
HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก
HSV type 2 เกิดโรคเริมที4อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการและอาการแสดง
เกิดเป็นกลุ่ม vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ตาอักเสบ
ตุ่มใสๆ
ไข้
หนาวสั่น
ซึม
ตับม้ามโต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
ตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture)
เซลล์วิทยา (cytology)
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ
ให้ยา antiviral drug
ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
เพิ่มภูมิต้านทาน
ดูแลการให้ยาต้านไวรัส
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล
แนะนำการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ระยะคลอด
ใช้หลัก Universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ทำความสะอาดทารกทันทีหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
หูดหงอนไก่
เกิดจากเชื้อไวรัส HPV type 6 และ 11
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
. การตรวจร่างกาย
ทำ pap smear
อาการและอาการแสดง
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
มีขนาดที่แตกต่างกัน มักรวมกันเป็นก้อนใหญ่คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
การรักษา
การรักษาด้วยสารเคมี
การจี้ไฟฟ้า
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
.โรคเอดส์
การตรวจพบปฏิกิริยาทางน้ำเหลืองต่อเชื้อ HIVเป็นบวก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ELISA
confirmatory test
Western Blot
IFA
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1
ไม่มีอาการทางคลินิก
Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2
อาการคล้ายเอดส์
ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3
อาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์
มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำ ๆ นาน
กว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ
เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน
ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป
ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด
อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การรักษา
ระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
เพิ่ม AZT 300 mg ทุก3 ชม.
ให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
viral load น้อยกว่า 50 copies / ml
ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี4ยงการให้ยา Methergine
หลังคลอด
ให้ยาหลังคลอดต่อทุกรายที่สมัครใจ
CD4 < 500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือด ลบ หรือ ไม่ทราบผลเลือดคู่
มีการติดเชื้อร่วม
ให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะการตั้งครรภ์
ให้ความเห็นใจและให้กำลังใจผู้ป่วย
แนะนำการปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพ
ตรวจหาระดับCD4
ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่ว
ทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
ให้อยู่ในห้องแยก
งดให้นมบุตร
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกำหนด
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./กก./วัน
ตรวจหาการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
ติดเชื้อไวรัสซิกกา
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลําตัว และแขนขา
ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
ตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา
ตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กําเนิดของทารกในครรภ์
การรักษา
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
รักษาประคองไปตามอาการ