Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diseases of Urinary system, S__94126083, S__94126086, S__94126085, image,…
Diseases of Urinary system
1.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (Upper Urinary tract)
ไตสองข้าง(Kidney)เป็นอวัยวะสำคัญที่สุดของระบบนี้ เป็นท่อกรองเอาน้ำและของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
หน่วยไต(Nephron)ทาหน้าที่สีร้างปัสสาวะ
กรวยไต (renal pelvis) ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ท่อไต (Ureter) นาน้ำ ปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
2.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง(Lowerurinarytract)
-กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) เป็นท่อเก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราวเมื่อได้จานวนที่พอเหมาะหดตัวบีบน้ำปัสสาวะไปสู่ท่อปัสสาวะ (Urethra)
-ท่อปัสสาวะ(Urethra)เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจาก กระเพาะปัสสาวะไปสู่นอกร่างกายซึ่งท่อปัสสาวะนั้นมีความแตกต่าง
หน่วยไตสามารถแบ่งออกเป็น2ส่วน
Renal corpuscle
Renal tubule
Agenesisไตฝ่อหรือภาวะที่ไม่มีเนื้อไต
Potter’s syndrome เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาด น้ำคร่ำทำให้ร่างกายถูกกด การแบ่งตัว ของเซลล์ผิดปกติ เป็นสาเหตุการเสียชีวิต แต่กำเนิดของทารก-แขนขาที่ผิดปกตบ่อยคือรูปร่างผิกปกติ โก่ง บิด ข้อเคลื่อน clubfoot
Potter's facies หูติดต่ำ ผิวหนังย่น จมูก งุ้มคางเล็กมีสันนูนเด่นที่หัวคิ้วทั้งสองข้าง
Hypothalami ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่า ร้อยละ50
Supernumerary kidney-ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสองส่วนใหญ่จะ เป็นสามไต-ไตชั้นที่เกินจะแยกออกจากไตปกติหรือเป็น ภาวะ "ไตแฝด" ที่ไตสองส่วนอยู่ติดเป็นไตเดียวความผิดปกติในตาเหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Ethiopia ภาวะไตอยู่ในตำแหน่งที่ผิดปกติ เช่น อยู่ในอุ้งเชิงกราน- อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
Malrotation ภาวะที่ไตมี renal pelvis และ ureterอ ยู่ทาง ด้านหน้า Fusion of kidneys หรือ Horseshoe kidney
จำนวน renal tubule และ calyx ลดลง ด้วย แต่เนื้อไต ไม่มีความผิดปกติ
Renal cystic diseases
1.1 Adult type
พบได้บ่อยเป็นทั้งสองข้าง
ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบautosomal dominant
ไตจะมีขนาดใหญ่ขึ้น บางครั้งหนักได้ 4กิโลกรัม
ผิวนอกตะป่มุ ตะป่าหน้าตัดประกอบด้วยcystขนาด ใหญ่ 3-4เซนติเมตร
1.2 Infantile type
พบได้ตั้งแต่ทารกแรกคลอด มักจะเสียชีวิตใน ระยะแรกๆ
ถ่ายทอดทางกรรมพนัธ์ุแบบ autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้างผิวหนังนอกเรียบ หน้าตัดพบcystทั้งที่cortexและmedulla ทำ ให้เนื้อมีลักษณะพรุนแบบฟองน้ำ
Medullary cyst
2.1 Medullary sponge kidney
มีการขยายใหญ่เป็นถุงของcollecting tubule ของ medulla
พบในผู้ใหญ่
ไตยังทํางานปกติ
2.2 Uremic Medullary cystic disease
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์มักมีอาการ ตั้งแต่เด็ก
พบcyst อยู่ในบริเวณ Medulla
ที่สำคัญคือมี cortical tubular atrophy และ interstitial fibrosis ร่วมด้วย ซ่งึ เป็นสาเหตุของ ภาวะไตวายในระยะต่อมา
Simple cyst
อาจพบ cyst เดียวหรือหลายอัน ขนาดอาจจะ เล็กหรือใหญ่
มักพบอยู่ในบริเวณcortexเกิด dilatationของ tubule อาจทาให้มีเลือดออก หรือ calcification ในภายหลัง
Glomerular diseases
1.พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน Glomerulonephritis (GN)
การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไตส่วน ใหญ่เป็นภาวะแพ้ภูมิตนเอง(autoimmunity) เช่น Malaria, Syphilis, Hepatitis และ Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
2.พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
-พบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน(Diabetic nephropathy) หรือจากการรักษาเบาหวาน เช่น การใช้ยา กลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย(sulfonylurea)ทาให้เกิดภาวะโซเดียม ในเลือดต่ำจึง เกิดภาวะขาด ADH ตามมา
-จากภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวานเช่นการติด เชื้อ ในระบบทางเดินปัสสาวะ ความดันโลหิต สูง การติดเชื้อในกระแสเลือด
กลไกการเกิด
1) การกรองเพิ่มขึ้น (hyper filtration)
เนื่องจากกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดนำเลือดเข้าโกลเมอรูลัส มีระดับน้ำตาลภายในเซลล์ลดลง
ทำให้ขาดพลังงานในการหดตัว เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด เลือดจึงไหลเวียนไปกรองที่ไตเพิ่มขึ้น
2) การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin
ปกติ juxtaglomerular cell มีหน้าที่สร้างProrenin และเปลี่ยนเป็นเรนิน
สำหรับผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวานจะพบ proreninเพิ่มขึ้น และการหลังเรนินเข้าสู่กระแสเลือดลดลง
ทำให้เกิดภาวะ hyperkalemia ภาวะกรดเกินเนื่องจากพยาธิสภาพที่หลอดฝอยไต (renal tubularacidosis) และภาวะน้ำเกินตามมา
Tubulo-interstitial diseases
เกิดจากสาเหตุหลายอย่างได้แก่ ยา การติด เชื้อ immunological reaction แบ่งเป็น
Acute interstitial nephritis พบ interstitial edema ร่วมกับ leukocyticinfiltration ละ tubular necrosis
Chronic interstitial nephritis พบ interstitial fibrosis , tubular atrophy ละ mononuclear cell infiltration
Tubular diseases
โรคที่สำคัญ คือ Acute tubular necrosis (ATN) เป็นภาวะที่มีการถูกทำลายอย่างเฉียบพลันของRenal tubule เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานาน
ชนิดของ Acute tubular necrosis(ATN)
Nephrotoxic type : ได้รับสารพิษ
Ischemic type : shock
Acute tubular necrosis (ATN) มี 3 ระยะ
ระยะที่ 2 Diuretic phase เกิดในช่วงกลาง เมื่อเวลาผ่านไป tubular cell ที่ตายมีการสลายไปและมีการสร้าง cell ใหม่- cell ใหม่ที่สร้างไม่สามารถดูดกลับได้เต็มที่ ปัสสาวะจึงออกมาก
ระยะที่ 1 0liguric phaseเกิดในช่วงแรก เมื่อมีการตายของ renaltubule ทำให้ renal cell หลุดมาอุดตันทางเดินปัสสาวะปัสสาวะจึงออกน้อย และมีอาการบวมร่วมด้วย
ระยะที่ 3 Recovery phase เกิดในช่วงหลังเมื่อนานเข้า tubular cell สามารถดูดน้ำกลับได้ปกติ ปัสสาวะจึงมีปริมาณปกติ
Urinary tract infection ( UTI)
กรวยไตอักเสบ( Pyelonephritis)
อาจเกิดเพียงข้างเดียว หรือ เกิดพร้อมกันทั้งสองข้างแบ่งเป็น
Urinary tract infection
Chronic Pyelonephritis
ㆍเป็นการอักเสบไม่รุนแรง แต่เป็นๆหายๆ
ㆍ ไตจะมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ เนื่องจากรอยแผลเป็นนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Acute Pyelonephritis
เกิดทันที และรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษา จะหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์- มีอาการไตบวมโตมีเลือดดังมากขึ้น พบจุดหนองกระจายเป็นทางจากผิว ลึกลงไปในส่วนcortex,medulla และ renal pelvis รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือในรายที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะร่วมด้วยอาจมีการตายของ renal papilla เรียกว่า Renalpapillary necrosis
ปัจจัยส่งเสริม
crystalloid cone. เพิ่มขึ้นในปัสสาวะ : ปัสสาวะน้อย
crystalloid ตกตะกอนมากขึ้น : การดังของปัสสาวะ
Foreign bodies : แบคทีเรีย
Nephrocalcinosis
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไต
ㆍ Nephrocalcinosis เป็นสาเหตุหนึ่งของ
การเกิดนิ่วในไต
ㆍสาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไกการเกิด
การมีระดับแคลเซียมในเลือดสูง
เมื่อเลือดกรองที่ไต แคลเซียมส่วนหนึ่งจะถูกดึงไว้ในกระดูกเพื่อใช้ในยามจำเป็น ส่วนที่เหลือใช้จะถูกขับออกทางปัสสาวะ
เมื่อเลือดมีแคลเซียมสูง ร่างกายขับแคลเชียมออกไม่หมด เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมในเนื้อไต
Urinary tract obstruction
ภาวะที่มีการอุดกันของทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
ความพิการแต่กำเนิด
การอุดกั้นจากรอยโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่นิ่ว เนื้องอก การอักเสบ ก้อน renal papillae ทีตายหรือก้อนเลือด การตั้งครรภ์
3.ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะผลจาก Urinary tract obstruction
ผล
ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนที่อยู่เหนือตำแหน่งที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว (dilatation)
มีโอกาสเกิดนิ่วและการติดเชื้อเพิ่มขึ้น และทำลายเนื้อไตอย่างถาวร
Hydronephrosis
ภาวะที่มี dlatation ของ renal pelvis และ Calyx ร่วมกับมีProgressive atrophy ของเนื้อไตสาเหตุจากการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะอาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดมาจากส่วนของไต
หลอดไตตีบ(stricture) อาจเป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูกและมดลูก
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
พยาธิ
การอุดกั้น
เนื้องอก
vesicoureteral reflux
สาหตุ
นิ่วที่หลุดมาจากส่วนของไต
หลอดไตตีบ(stricture) อาจเป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูกและมดลูก
Vesicoureteral reflux
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในหลอดไตและ renal pelvis
สาเหตุ
1.การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
2.การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
3.การบาดเจ็บภายนอก
4.พันธุกรรม
5.ความผิดปกติของ sphincter
6.มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะ
พบมากในเด็ก อาจทำให้มีการติดเชื้อและเป็นสาเหตุหนึ่งของ pyelonephritis
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
เกิดจากเชื้อแบคที่เรียมักจะเกิดในผู้หญิง เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้น และรูเปิดของท่อปัสสาวะ อยู่ใกล้ทวารหนัก ทำให้เชื้อสามารถเข้าไปในท่อปัสสาวะ
สาเหตุ
การกลั้นปัสสาวะ
หลังการกระเทือนหรือหลังมีเพศสัมพันธ์เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ
มีสิ่งแปลกปลอมในท่อทางเดินปัสสาวะ
อาหารหรือยาบางอย่าง เช่น อาหารที่มีเกลือมาก
ดื่มน้ำน้อย ดื่มแอลกอฮอล์มาก
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)
เป็นการบาดเจ็บ อักเสบ บวม ของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะ เกิดจากหลายสาเหตุ ที่พบบ่อยที่สุดคือ จากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะจากเชื้อแบคทีเรียพบได้ในทุกอายุ ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ แต่มักพบได้สูงในวัยที่มีเพศสัมพันธ์สูง คือ ช่วงอายุ 20-35 ปีผู้หญิงมีโอกาสติดเชื้อได้สูงกว่าผู้ชาย
สาเหตุของ Urethritis
1.โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
ติดเชื้อจากโรคหนองใน หรือโกโนเรีย (Gonococcal urethritis)
จากเชื้อที่ไม่ใช่หนองใน เช่น โรคเริม โรคชิฟิลิสจากการติดเชื้อHIV หรือ โรคเอดส์
การติดเชื้อที่ไม่ใช่จากเพศสัมพันธ์ เช่นเชื้อ E. coli (Staphylococcus) หรือเชื้อ Pseudomonas ซึ่งอาจติดต่อผ่านมาทาง ลำไส้ (ทางอุจจาระ) หรือทางไตหรือทางกระเพาะปัสสาวะ (ทางปัสสาวะ)
สาเหตุที่ไม่ใช่จากการติดเชื้อ
การบาดเจ็บของท่อปัสสาวะจากการสวนปัสสาวะ เช่น ในการผ่าตัด การใส่คาท่อปัสสาวะในผู้ป่วยอัมพาตหรือจากเยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะได้รับสารก่อการระคายเคืองต่างๆ เช่นน้ำยา หรือ สเปรย์ ต่างๆที่ใช้ทำความสะอาดหรือ ดับกลิ่น บริเวณอวัยวะเพศ