Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบ หัวใจและหลอดเลือด และ 3.5…
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบ
หัวใจและหลอดเลือด และ
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบ
ทางเดินอาหาร
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบ
หัวใจและหลอดเลือด
Acute MI
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
เกิดจากไขมันที่สะสมในผนังของหลอดเลือด
ผู้ป่วยจะมีอาการเมื่อหลอดเลือดตีบ ร้อยละ 50
เกิดจากหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบ
อาการสำคัญ
เหนื่อยขณะออกแรง
อาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
เจ็บเค้นหน้าอก
อาการเนื่องจากความดันโลหิตตำ่
หมดสติ หรือหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหัวใจขาดเลือด (Acute coronary syndrome)
เจ็บขณะพัก นานกว่า 20 นาที
ST elevation acute coronary syndrome
หากผู้ป่วยไม่ได้รับการเปิดเลือดที่อุดตันในเวลาที่รวดเร็ว จะทำให้เกิด STEMI
พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads หรือ LBBB ขึ้นมาใหม่
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน
Non ST elevation acute coronary syndrome
หากมีอาการนานกว่า 30 นาที อาจเกิดกล้ามเนื้อเฉียบพลัน ชนิด NSTEMI
ถ้าอาการไม่รุนแรงอาจเกิดเพียง Unstable angina
พบคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ST segment depression หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
ภาวะเจ็บเค้นคงที่ (Stable angina)
ระยะเวลาครั้งละ 3-5 นาที
หายโดยการพัก หรืออมยาขยายเส้นเลือดหัวใจ
มีอาการเจ็บเค้นอกเป็นๆหายๆ อาการไม่รุนแรง
การวินิจฉัยโรค
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
อมยาใต้ลิ้นแล้วไม่ได้ผล
มีอาการเจ็บเค้นเพิ่มขึ้น
ในผู้ป่วยที่เจ็บเค้นอก นานกว่า 20 นาที
ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
รีบตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
รักษาเบื้องต้นตามสภาพผู้ป่วย
ตรวจ cardiac markers
รักษาเฉพาะหรือส่งต่อผู้ป่วย
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซำ้
เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
การวินิจฉัยแยกโรค
โรคที่อาการคล้ายคลึงกัน
หากไม่แน่ใจแพทย์จะพิจารณาส่งครวจทางห้องปฏิบัติการ
ในผู้ป่วยที่มีอาการต่างไปจากลักษณะเฉพาะ
อาการเจ็บเค้นหน้าอกอาจมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจขาดเลือด
การซักประวัติ
ตรวจสมรรถภาพหัวใจขาดเลือดขณะออกกำลังกาย
ตรวจ cardiac imaging
ดูลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจเปรียบเทียบขณะไม่มีอาการ
การพยาบาล
ให้ Aspirin 325 mg
ให้ isosorbide dinitrate 5 mg อมใต้ลิ้น
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 sat, วัดสัญญาณชีพ
ถ้าผู้ป่วยเคยได้รับยาอยู่แล้ว ให้ใช้ยาตามความเหมาะสมของแพทย์
ให้ออกซิเจน
หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้น พิจารณาให้ Morphine 3-5 mg
นอนพักในที่ที่อากาศถ่ายเท
เตรียมพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อน
บทบาทพยาบาล
เฝ้าระวังอาการ Cardiac arrest
EKG monitoring
สังเกตอาการเหงื่อแตก ตัวเย็น ซีดเขียว
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ
เตรียมรถ Emergency และเครื่อง Defibrillator
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB เกิดขึ้นใหม่
กรณีไม่มี PCI center ให้ refer หากจุดหมายเกิน 120 นาที ให้พิจารณาให้ fibrinolysis drug ภายใน 10 นาที
เตรียมผู้ป่วยเพื่อทำ Primary PCI ใน 48 ชั่วโมง
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและแปลผล
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมืนสภาพ
และดูแลรักษาให้เพียงพอ
ให้ออกซิเจน
มีภาวะ hypoxemia
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ประสานงาน
ให้ดูแลแบบช่องทางด่วน ACS fast track
ใช้ clinical pathway หรือ care map
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
Quality ลักษณะของอการเจ็บอก
Refer pain ตำแหน่งที่ปวดร้าว
Precipitate cause สาเหตุชักนำ
Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บอก
Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
Time ระยะเวลาที่เป็น
Pulmonary Embolism
ปัจจัยเสี่ยง
immobilization นานเกิน 3 วัน
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้ estrogen
เคยเป็น Deep vein thrombosis หรือ PE
ประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
โรคมะเร็ง
การผ่าตัดในระยะ 12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
อาการแสดงทางคลินิก
ใจสั่น แน่นหนาอก
บางรายหน้ามืดเป็นลม
อาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน
บางรายมีอาการไอเป็นเลือด
อาจฟังพบเสียง Wheezing
ได้ยินเสียงการเสียดสี Pleural rub
หลอดเลือดที่คอโป่งพอง
ในรายที่มีลิ่มเลือดขนาดใหญ่ไปอุดที่ปอด จะตัวเย็น มีความดันต่ำ ช็อก ร่วมกับ cyanosis
ออกซิเจนในเลือดต่ำ
ผู้ป่วยที่สงสัย PE มีขาหรือน่องบวม ปวด
หายใจเร็ว
มีการอักเสบของหลอดเลือดดำร่วมด้วย
กลไกที่ทำให้เกิดลิ่มเลือด
มีความผิดปกติของเลือด
ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
มีผนังหลอดเลือดที่ผิดปกติ
เกิดจากมี local trauma หรือมีการอักเสบ
ก้อนเลือดมีโอกาสที่จะหลุดเข้าสู่หลอดเลือดดำ
หากก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ จะทำให้มีการเพิ่มขึ้นของแรงเสียดทาน ทำให้ความดันในหัวใจเพิ่มขึ้น
ผลดังกล่าวทำให้ Cardiac output ลดลง และเสียชีวิต
ทำให้เลือดดำไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด เกิด Hypoxia
การไหลเวียนเลือดลดลง
เกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวเป็นเวลานาน
การวินิจฉัย
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก CXR
พบว่าเนื่อปอดบาง หลอดเลือดที่ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 leads
มี deep S-wave ใน lead I และ Q wave และ T-inversion
การซักประวัติ
ใช้ wells scoring system ถ้ามากกว่า 6 มีโอกาศเป็น PE
Echocardiography
พบ right ventricular dysfunction
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง ABG
มี Hypoxemia ร่วมกับ Hypocapnia และ
alveolar-arterial oxegen gradient กว้าง
ค่า biomarkers ต่างๆ
ค่า D-dimer สูงกว่าปกติ
Troponin-Tสูงกว่าปกติ
มีการตายของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา
การรักษา
Thrombolytic therapy
ทำในกรณีที่ massive pulmonary emboli ที่มีระบบหัวใจและปอดทำงานผิดปกติมีผลกับ haemodynamic อย่างรุนแรง
Caval filter
การใส่ตะแกรงกรอง embolismใน inferior vena cava ตัวกรองเหล่านี้จะเป็นตัวเก็ยก้อนเลือด
Anticoagulation
ให้ Heparinในหลอดเลือดดำในช่วงแรกและให้ Comadin ต่ออีก 3 เดือน
ในผู้ป่วยที่เกิด PE ซำ้ อาจพิจารณาให้ยา Anticoagulation ตลอดชีวิต
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบ
ทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt injury
เกิดจากอุบัติเหตุรถชน หรือตกจากที่สูง
เกิดจากบาดเจ็บหลายแห่งรวมกัน
เกิดจากแรงกระแทก
ผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องตรวจติดตามอาการของผู้ป่วยเป็นระยะ
การวินิจฉัยยาก เนื่องจาก อาการแสดงช้า
Penetrating trauma
Stab wound
วัคถุคาอยู่อย่าดึงออก
Gun short wound
ส่วนใหญ่ต้องได้รับการผ่าตัด
เกิดจากของแรงกระแทก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูแลให้ผู้บาดเจ็บได้รับออกซิเจนเพียงพอ
รีบให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอทันที
ควบคุมความอิ่มตัวของออกซิเจน
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้อากาศเพียงพอ
ให้ทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
การบรรเทาความเจ็บปวด
วิธีการใช้ยาตามแผนการรักษา
วิธีการไม่ใช้ยา
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด
ใส่ NG tube และบันทึก สี ลักษณะ จำนวน
ช่วยแพทย์เจาะท้อง
ใส่สายสวนปัสสาวะและติดตามบันทึกจำนวนปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการทำวานของหัวใจ
ป้องกันการเกิด Hypovolemic shock
เจาะเลือดส่งตรวจ Hb, Hct, CBC, Group match
การเฝ้าระวัง
การประเมินซำ้
เพื่อดูการตอบสนองการรักษาพยาบาล
เพื่อทำการปรับแผนการรักษาพยาบาล
การเฝ้าระวัง
ผู้ป่วยสูงอายุที่อาจมีระบบการสูบฉีดบกพร่อง
ผู้ป่วยที่มีอาการวิกฤต
ในผู้บาดเจ็บที่รักษาโดยการใส่สายเข้าหลอดเลือด
การประเมินเบื้องต้น
ระบบผิวหนังและเยื่อเมือก
ระบบสูบฉีดโลหิตและไต
ระบบประสาทกลาง
ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
อาการและอาการแสดง
ในผู้ป่วยช็อกที่ไม่มีร่องรอยการเสียเลือด
ให้คำนึงถึงการตกเลือด
ท้องอืดตึง
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือ การเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
ไม่ได้ยินการเคลื่อนไหวของลำไส้
อาการปวด
อวัยวะภายในได้รับอันตราย
การฉีกขาดของผนังหน้าท้อง
ภาวะฉุกเฉินผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
ภาวะเลือดออก
ทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง
เกิดภาวะแทรกซ้อน
ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน
เนื้อเยื่อต่างๆขาดเลือด
เกิดการบวมของเซลล์
ทำให้ปริมาณสารเหลวในระบบไหลเวียนลดลง
สาเหตุเกิดจากการเสียเลือดจากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate)
ทำให้มีการรั่วของอาหารเข้าไปในช่องท้อง
เกิด Peritonitis
ทำให้เกิดการอักเสบทั่วช่องท้อง
เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ
เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบไต
เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนโลหิตและหัวใจ
เกิดการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือดขาว
เกิดการเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อ
สาเหตุ
เกิดบาดเจ็บของกระเพาะอาหาร
เกิดจากการบาดเจ็บของลำไส้เล้ก ลำไส้ใหญ่
เกิดจากการบาดเจ็บหลอดอาหาร
Peritonitis
กล้ามเนื้อทั่วท้องจะแข็งเกร็ง
ปวดมากเวลาเคลื่อนไหว
ปวดทั่วท้อง
ท้องอืด
ปวดรุนแรงมาก
ถ้ารุนแรงอาจช็อก
ถ้ารุนแรงอาจเกิด organ failure ได้
แบ่งความรุนแรงเป็น
มีสัญญาณชีพคงที่ แต่มีอาการแสดงการบาดเจ็บช่องท้อง
ต้องตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
มีสัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการที่ชัดเจน
สามารถวินิจฉัยภายหลังได้
อาการหนักมาก Shock ท้องอืด มีเลือดมาก
ต้องผ่าตัดทันที
จิดาภา ตั้งอยู่ดำรงกุล 6001210217 Sec B (10)