Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินใน ระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินใน ระบบทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้อง
เป็นอันดับ1 ในผู้ป่วย อุบัติเหตุ
*
สำคัญที่สุด ภาวะเลือดออกในช่องท้อง ช่องอุ้มเชิงกราน
•อาการผู้ป่วยอาจไม่ชัดเจน
•ทำให้การประเมินและการวินิจฉัยที่ช้า จนทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
•
**
การวินิจฉัยและการรักษาเบื้อต้นที่รวดเร็ว
ช่องเชิงกรานผู้ป่วยที่ควรระมัดระวังภาวะเลือดออกในช่องท้อง ได้แก่
• Brain injury
• Spinal cord injury
• การบาดเจ็บ Ribs, Spine, Pelvic
•ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจเกิดเลือดออกในช่องท้อง
สาเหตุ การบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt abdominal injury
•อุบัติเหตุรถชน ตกจากที่สูงมักเกิด multiple injuries พบได้บ่อย การบาดเจ็บของตับ ม้าม
•การวินิจฉัยยาก เนื่องจาก อาการแสดงช้า การวินิจฉัยช้าทำให้การรักษาผ่าตัดช้า
•ตรวจไม่พบในครั้งแรก
•อัตราการตาย ร้อยละ 10-30
การบาดเจ็บทที่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผล
• Gun short wound
-ส่วนใหญ่ต้องได้รับการผ่าตัด
• Stab wound
-วัตุคาอยู่อย่าดุงออก
อาการและอาการแสดง
•อาการปวด
1.การฉีกขาดของผนังหน้าท้อง
2.ปวดจาก ตับ ม้าม ฉีกขาด ปวดท้องช่วงบน กดเจ็บ ร้าวไปที่หลัง
•การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งกล้ามเนื้อท้อง
-ประเมินยาก อาการเกร้งหน้าท้องอาจเกิดการไม่ร่วมมือในการตรวจ
3.ท้องอืด
4.ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
5.ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อก
**
ไม่เห็นร่องรอยของการเสียเลือด ให้นึกถึงการตกเลือด ในช่องท้อง
ภาวะฉุกเฉิน ผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
แบ่งความรุนแรงออกเป็น3ระดับ
1.อาการหนักมาก Shock
ต้องได้รับการผ่าตัดทันที
2.มีสัญญาณชีพคงที่
•กดเจ็บที่ท้อง
•กล้ามเนื้อหน้าท้องหดเกร็ง
•ท้องอืด
3.ผู้ป่วยที่สัญญาณชีพปกติ
•ไม่มีการที่ชัดเจน
•กรณีที่ไม่แน่ใจ
-ติดตามการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
•ผู้ป่วยกลับบ้าน ต้องแน่ใจว่าผู้ป่วยไม่มีการบาดเจ็บช่องท้อง
ภาวะฉุกเฉิน ผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
1.ภาวะเลือดออก
Hypovolemic shock ใน BAT
•สาเหตุเกิดจาก เสียเลือด
ภาวะฉีกขาดทะลุ
ทำให้มีการรั่วของอาหาร เกิดภาวะการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง
Peritonitis มีลักษณะ
•จะปวดมากเวลาเคลื่อนไหวหรือสะเทือน
•ท้องอืด
ถ้าอาการอักเสบรุนแรง
•ผู้ป่วยอาจจะช็อกและเกิด organ failure
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
การประเมินผู้ป่วย BAT แยกเป็น 2 กลุ่ม
1.มี hypotension
2.อาการแสดงยังไม่ชัดเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
การประเมินและวินิจฉัย BATควรทำเร็วที่สุด เนื่องจากอาการที่แสดงว่าเกิด Severe hemorrhage จาก internal organ injury ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะ ภาวะ HypovolemicShock ตามมา
1.การประเมินผู้ป่วย
1.) Primary survey
A. Airway maintenance with Cervical Spine control
*
ให้ระลึกว่า มีการบาดเจ็บของ C -spineไว้
B. Breathing and ventilation
-โดยดูภาวะ Apnea ภาวะ upper airway obstruction
C. Circulation with hemorrhagic control
-ภาวะ hypovolemic shock ควบคุม external hemorrhage กดบริเวณที่มีเลือดออก
D. Disability: Neurologic status
-ประเมิน neurological status
E. Exposure/ Environment control
-ถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยเพื่อตรวจหาร่องรอย แต่ต้องระวัง Hypothermia
Resuscitation
-แก้ไขภาวะ immediate life threatening
conditions
Secondary survey
-head to toe
Definitive care
-การรักษาที่เหมาะสม
-ไปผ่าตัดหรือเพียงแค่ medication
การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
1.ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ
2.ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
เกิด Hypovolemic Shock
-ใส่สายสวนปัสสาวะ
-ใส่NG Tube
ช่วยแพทย์เจาะท้อง เพื่อการวินิจฉัย ดูแลให้ได้รับยา
3.การบรรเทาความเจ็บปวด
4.ลดความวิตกกังวล
5.การเฝ้าระวัง
•การประเมินเบื้องต้น
-ประสาทส่วนกลางได้แก่ระดับความรุ้สึกตัว
-ผิวหนังและเยื่อเมือก
-สูบฉีดโลหิตและไต
•การประเมินซ้ำ
-ตอบสนองการรักษาพยาบาล
-ทำการปรับแผนการรักษาพยาบาล
•การเฝ้าระวัง
-รักษาโดยการใส่สายเข้าหาลอดเลือดแดง และดำกลาง