Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system) - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
(Diseases of Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (Upper Urinary tract)
ไตสองข้าง ( Kidney) เป็นอวัยวะสำคัญที่สุดของระบบนี้เป็นที่กรองเอาน้ำ และของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
หน่วยไต (Nephron) ทำหน้าที่สร้างปัสสาวะ
กรวยไต (renal pelvis)
ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ท่อไต (Ureter) : นำน้ำปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
2.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) เป็นที่เก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราว
ท่อปัสสาวะ (Urethra) เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะไปสู่นอกร่างกาย
โครงสร้างของหน่วยไต (Nephron)
Renal corpuscle
ส่วนใหญ่อยู่บริเวณ cortex ประกอบด้วย glomerulus , Bowman capsule
เลือดที่เข้า renal corpuscle คือ vascular pole บริเวณตรงข้ามซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำปัสสาวะออกมา คือ urinary pole
Renal tubule
proximal tubule,loop of henle,distal tubule ดูดน้ำและสารต่างๆ กลับเข้าสู่ร่างกาย
เป็นทางลำเลียงน้ำปัสสาวะออกจากร่างกาย
Renal malformations
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis
Potter's syndrome
เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำ
แขนขาผิดปกติ รูปร่างผิดปกติ
ปอดไม่เจริญ
Hypoplasia
ไตมีขนาดเล็กกว่าปกกติมากกว่า 50%
จำนวน renal lobule , calyx ลดลง
เนื้อไตไม่มีความผิดปกติ
Supernumerary kidney
จำนวนไตมากกว่า 2 ส่วนใหญ่เป็น 3
ไตชั้นที่เกินจะแยกออกจากไตปกติ เป็น"ไตแฝด" ที่ไตสองส่วนอยู่ติดแน่นเป็นไตเดียว
ความผิดปกติใน differentiation
ความผิดปกติในตำแหน่งรูปร่าง และ Orientation
Ectopia
ไตอยู่ในตำแหน่งผิดปกติ เช่น อุ้งเชิงกราน
Malrotation
ภาวะที่ไตมี renal pelvis , ureter อยู่ทางด้านหน้า
Fusion of kidneys /
Horseshoe kidney
การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
Renal cystic diseases
Polycystic kidney disease
Adult type
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ
autosomal dominant
ไตมีขนาดใหญ่ขึ้น หนักถึง 4 กก. Cyst ขนาดใหญ่ 3-4 ซม.
Infantile type
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ
autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้ง 2 ข้าง หน้าตัดพบ cyst ที่ cortex,medulla เนื้อพรุนแบบฟองน้ำ
Medullary cyst
Medullary sponge kidney
ถุง collecting tubule ของ medulla ขยายใหญ่
ไตยังทำงานได้ปกติ พบในผู้ใหญ่
Uremic Medullady cystic
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม มีอาการแต่เด็ก
พบ cyst ใน medulla มี cortical tubular atrophy , interstital fibrosis ร่วมด้วย เป็นสาเหตุของไตวาย
Simple cyst
อาจพบ cyst เดียวหรือหลายอัน เล็ก,ใหญ่
อยู่ตรง cortex เกิด dilatation ของ tubule
อาจทำให้เลือดออก หรือ calcification ภายหลัง
Glomerular diseases
พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต ส่วนใหญ่เป็นภาวะแพ้ภูมิตัวเอง
พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
พบได้บ่อย คือ โรคไตจากเบาหวาน
ภาวะที่พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ความดันโลหิตสูง
กลไกการเกิด
การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
เนื่องจากกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดดำนำเลือดเข้าโกลเมอรูลัส ระดับน้ำตานลในเซลล์ลดลง
การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin
สำหรับผู้ป่วยเบาหวานจะพบโปรตีนเพิ่มขึ้น การหลั่งเรนินเข้าสู่กระแสเลือดลดลง เกิดภาวะ hyperkalemia
Tubulo-interstital diseases
มีความผิดปกติในรูปร่างและหน้าที่ของ tubule , interstitium ของไต
เกิดจาก ยา การติดเชื้อ immunological reaction
1.Acute interstital nephritis
พบ interstitial edema ร่วมกับ leukocytic infiltration,tubular necrosis
2.Chronic interstital nephritis
พบ interstitial fibrosis,tubular atrophy,
mononuclear cell infiltration
Tubular diseases
Acute tubular necrosis
ระยะที่ 1 Oliguric phase
เกิดในช่วงแรก เมื่อมีการตายของ renal tubule ทำให้ renal cell หลุดมาอุดตันทางเดินปัสสาวะ จึงปัสสาวะน้อย และมีอาการบวม
ระยะที่ 2 Diuretic phase
เกิดในช่วงกลาง tubular cell ที่ตายมีการสลายไปและมีการสร้าง cell ใหม่ และ cell ใหม่ที่สร้างไม่สามารถดูดกลับน้ำได้ ปัสสาวะจึงออกมา
ระยะที่ 3 Recovery phase
เกิดในช่วงหลัง tubular ดูดกลับน้ำได้ปกติ ปัสสาวะมีปริมาณปกติ
Urinary tract infection
Acute Pyelonephritis
เกิดทันที รุนแรง เมื่อได้รับยาหายภายใน 2-3 สัปดาห์
มีอาการบวม เลือดคั่ง หนองกระจายเป็นทางจากผิว ลึกลงไป cortex ,medulla,renal pelvis
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือ มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ อาจมีการตายของ renal papilla เรียกว่า renal papillary necrosis
Chronic pyelonephritis
อักเสบไม่รุนแรง เป็นๆหายๆ ไตเล็กลง ขรุขระ
ควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้ เช่น นิ่วในไตเรื้อรัง ต่อมลูกหมากโต
Nephrocalcinosis
มี calcium สะสมในเนื้อไต เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดนิ่วในไต
Urinary tract obstruction
สาเหตุ
📌ความพิการแต่กำเนิด
📌การอุดกั้นจากรอยโรค เช่น นิ่ว เนื้องอก
📌ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมกระเพาะปัสสาวะ
ผล
👉ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนที่อยู่เหนือตำแหน่งที่อุดตัน ขยายตัว
👉มีโอกาสเกิดนิ่ว ติดเชื้อ เนื้อไตถูกทำลาย
ความผิดปกติของ Ureter
Ureteric Obstruction
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดออกมาจากส่วนไต
หลอดไตตีบ
เนื้องอกของ Ureter
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูก
Vesicoureteral reflux
เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะเข้าไปในหลอดไต , renal pelvis
สาเหตุ
การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
การติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ
พันธุกรรม
มีความผิดปกติของ sphincter
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มักเกิดในผู้หญิง
สาเหตุ
กลั้นปัสสาวะ
เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ
ดื่มน้ำน้อย ดื่มแอลกอฮอล์มาก