Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาทและระบบทางเดินหายใจ, นางสาวกมลพร…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาทและระบบทางเดินหายใจ
Head injury
็Primary Survey
Airway
Cervical spin control
ผู้ป่วยหมดสติสวม helmet ขณะถอดหมวกออกคอต้องอยู่ท่า Neutrl possion
Breathing
มักหยุดหายใจช่วงสั้นๆและ Hypoxia
ทำให้เกิด Secondary brain injury เสียชีวิตได้
รักษาระดับ SpO2 ให้มากกว่าร้อยละ98
Hyperventilation
บีบ Ambu 20ครั้ง/นาที ใช้หลักลดPaCO2
ใช้กับผู้ที่ GCS ลดลง, Pupills dilatetion, IICP
ไม่ควรทำ prolong จะเกิด Ischemic และ HI ใน 24 ชม.แรกจะมีPaCO2น้อยกว่า 25mmHg
Circulation
หลีกเลี่ยงสารละลาย hypotonicทำให้สมองบวม, สารละลายที่มีกลูโคสทำให้เกิด hyperglycemia
ควรใช้ Isotonic/Hypertonic ได้ เช่น 0.9%NSS, 5%D/N/2
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ควบคุม BP ให้ปกติ เพื่อให้ Brain perfusion เพียงพอ
CT Scan ส่งต่อ Neurosurgeon
ป้องกัน Secondary brain injury โดยให้ O2
ความรุนแรง
Mild head injury: GCS13-15
เกิดภาวะ Talk and die
นอนศีรษะสูง 30 องศา เพื่อช่วยการไหลกลับของเลือดดำจากสมองและจัดลำคอป้องกันการเกิดภาวะIICP
ประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก1-2ชั่วโมง อย่างน้อย2ครั้ง
สามารถรับประทานยาพาราเซตามอล ไทลินอล เพื่อบรรเทาอาการปวดศีรษะได้
Moderate head injury: GCS 9-12
อาการมักComa
เเพทย์ส่งทำCT brainและAdmitทุกราย
Severe head injury: GCS 3-8
มีโอกาสเสียชีวิตสูง
โดยเฉพาะภาวะHypotensionและHypoxia
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บศีรษะและสมอง
เน้นระบบหายใจ Obsrtruction ไหม ถ้ามีรีบแก้ไข
รักษาภาวะ Shock ระวังการเคลื่อนย้าย
ป้องกัน brain edema จาก IV over load SYS ไม่ต่ำกว่า 90 mmHg, Urine output 30-50cc/hr
ดู Pupills dilatetion, CFT ภายใน2วินาที, BP
ถ้า RR มากแสดงว่าได้รับO2ไม่พอให้ Mask c bag 6-10lit/min
ป้องกัน brain edema
นอนตะเเคงท่ากึ่งคว่ำ
Suction ในปากและคอ ตามความจำเป็นไม่เกิน 10วินาที
นอนท่าศีรษะสูง 15-30องศา
หลีกเลี่ยงการจัดท่างอสะโพกเกิน 90องศา
Valsalva maneuver
ป้องกันเชื้อโรคเข้าสมอง
ใช้ผ้ากอซ sterile ถ้ากะโหลกแตก
ห้ามใช้สำลีอุดจมูกเพราะน้ำที่ไหลคือCSF
ภาวะฉุกเฉินรุนแรง
Hypercapnia
มีCO2 คั่ง
ทำให้พร่องO2และGCSลดลง
Matabolic acidosis
มีLactic adid ในร่างกาย
Tissue hypoxia
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
กรณีไม่บาดเจ็บเคลื่อย้ายผู้ป่วยท่านั่งได้
พบ Flail Chest ใช้หมอนรองบริเวณที่หัก
นอนทับข้างที่บาดเจ็บ
พบ Penetrating Chest Wounds ให้รีบปิดแผล ไม่ให้ air เข้าใน chest cavity
สำรวจป้องกันภาวะ hypoxia
จัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกมากขึ้น หัวสูง15 องศา
การพยาบาลเบื้องต้น
Breathing
ประเมิน Hypoxia
Circulation
Hypovolemia
ประเมิน neck vein
Airway
Laryngeal injury
เสียงแหบ ไอเป็นเลือด
ลักษณะและอาการ
Fail Chest
paradoxical
มักเกิดร่วมกับ Pneumothorax เสมอ
Tension Pneumothorax
Fractures of the Ribs
กระดูกซี่โครงหัก 1 ซี่หรือมากกว่านั้น
ประเมินภาวะ internal injuryและ shock เสมอ
Massive Hemothorax
พบ Neck vein
Dullness
Spinal cord injury
Spinal shock ประเมิน anal reflex, deeo tendon reflex,bulbocarver
การพยาบาลผู้ป่วยที่บาดเจ็บกระดูกสันหลัง
เป้าหมายแแรก
รักษาชีวิต ป้องกันการทำลาย ส่งต่อ
ณ จุดเกิดเหตุ
ให้สันนิษฐานว่ามีกระดูกสันหลังบาดเจ็บไว้ก่อน
การเคลื่อนย้าย
จัดให้กระดูกสันหลังนิ่ง ประครองกระดูกคอ วางถุงทรายซ้าย-ขวา
ขณะตรวจต้องจัดท่าผู้ป่วยให้อยู่แนวตรงเสมอ
กระดูกที่สูงกว่าC4หัก รีบรายงานเเพทย์ ห้ามใช้วิธี head tilt chin lift
ระวังการหายใจ อาจเกิดภาวะ hypoxia จาก hypoventilation ง่าย
SYS ต่ำกว่า 80mmHg. ไม่ต้องให้ IV fluid รีบรายงานแพทย์
เคลื่อนย้าย Log roll and lift
Acute stroke
Ischemic stroke
Thrombotic stroke
Emolic stroke
Hemorrhagic stroke
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้น
ใช้เวลาไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง ตั้งแต่มีอาการจนถึงโรงพยาบาล
ประเมิน V/S, SpO2, GCS, DTX ใน4 นาที
นางสาวกมลพร ปันทการ 60012111283 SEC B เลขที่58