Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกระยะที่3,4 :smiley: - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาและทารกระยะที่3,4
:smiley:
กลไกการลอกตัวของมดลูก
:red_flag:
การลดลงของขนาดมดลูก
ทำให้พื้นที่รกเกาะลดขนาดลง
รกขนาดเท่าเดิม
decidua ของรกส่วนที่อ่อนแอแยกออกจากผนังมดลูก
กลไก
Schultze’s mechanism
Duncan’s mechanism
Sign
Uterine sign
UC แข็งกลมเล็ก ลอยระดับสะดือ
Cord sign
สายดือเหี่ยว เกลียวคลาย คลำ P ไม่ได้
เคลื่อนต่ำ 8-10 cm
Vulva sign
หลังคลอดเลือดออกทางช่องคลอด
= รกการลอกตัวแบบ Duncan’s method
กลไกทำให้เลือดหยุด
:explode:
เส้นเลือดในโพรงมดลูกวางแทรก
ในเส้นใยกล้ามเนื้อของมดลูกที่เป็นร่างแห
UC บีบหลอดเลือด>เลือดที่ลอกตัวหยุดทันที
Living ligature action
วิธีช่วยทำคลอด :<3:
Modified Crede’ manever
Brant-Andrew manever
Controlled cord traction
การใช้ยาเพิ่ม ↑UC :pencil2:
Expectant management
ให้รกลอกตัวเองธรรมชาติ ไม่ใช้ oxytocin
Active management
ใช้สาร Uterotonin ทำให้มดลูกมีการหดรัดตัว
Uterotonin
Active management คือ Pitonin/Syntocinon
oxytocin 10-20 Unit IV
ระดับการฉีกขาด
ของแผลฝีเย็บ :warning:
ระดับ 1
: ฉีกเฉพาะเยื่อบุช่องคลอด
ผิวหนังแคมเล็กลงมาบรรจบกันตรงกลาง
ยาวไม่เกิน 2 cm
ระดับ 2
: ฉีกถึงกล้ามเนื้อฝีเย็บแต่ยังไม่ถึงกล้ามเนื้อรอบทวารหนัก
ระดับ 3
: ฉีกลึกไปถึงกล้ามเนื้อรอบทวารหนักชั้นนอก
ระดับ 4
: ฉีกของกล้ามเนื้อรอบรูทวารหนักชั้นใน
การพยาบาลมารดา
:recycle:
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ควรเป็นก้อนกลมแข็ง มีระดับยอดมดลูกภายหลัง
คลอดทันทีต่ำกว่าระดับสะดือประมาณ 1 นิ้วฟุต
ประเมินการฉีกขาดของหนทางคลอด
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ระยะที่ 4 ของการคลอดจะมีเลือดออกได้อีกแต่
ไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรใน 2 ชม หลังคลอด
ประเมินการก้อนเลือดคั่ง(Hematoma)
ภายหลังเย็บแผลฝีเย็บ ควรประเมินลักษณะแผลฝี เย็บเป็นระยะ
ประเมินสภาพกระเพาะปัสสาวะ
หลังคลอดอาจมีปัสสาวะคั่ง
กระเพาะปัสสาวะหดตัว↓ ความจุ↑ ความไวต่อแรงกด↓
ประเมินสภาวะทั่วไปของหญิงหลังคลอด
สัญญาณชีพ
อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย และความต้องการพักผ่อน
อาการกระหายน้ำ
ความต้องการรับประทานอาหาร
อาการปวดมดลูก-แผลฝีเย็บ
อาการหนาวสั่น
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างแม่-ลูก