Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการ SHOCK แมลงสัตว์กัดต่อย และแผลไหม้, นางสาวภัทรนันต์…
กลุ่มอาการ SHOCK แมลงสัตว์กัดต่อย
และแผลไหม้
SHOCK
:red_flag:
ความหมาย
:warning:
กลุ่มอาการที่เกิดจากการลดลงของระบบไหลเวียนโลหิตไปสู่อวัยวะส่วนปลาย ทำให้เกิดการเสียสมดุลระหว่างความต้องการและการขนส่งออกซิเจน ทำให้อวัยวะนั้นเสื่อมงลงและอาจนำไปสู่การเสียหน้าที่ถาวร
ประเภท
:!:
Cardiogenic shock
สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของหัวใจหรือหลอดเลือดขนาดใหญ่
ระบบไหลเวียนล้มเหลว ทำให้ BP<90/60 mmHg Pluse < 20 mmHg MAP<60 กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้ำ อ่อนเพลีย อาเจียน เป็นลม แน่นหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Hypovolemic shock
สาเหตุเกิดจากการลดลงของ preload ซึ่งเกิดจากการสูญเสียเลือด หรือสารน้ำในร่างกายไป
ระบบไหลเวียนล้มเหลว ทำให้ BP<90/60 mmHg Pluse < 20 mmHg MAP<60 กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย หลอดเลือดดำที่คอโปร่งพอง CVPสูง หากมีอาการรุนแรงม่านตาจะไม่ตอบสนองต่อแสง
Distributive shock
สาเหตุเกิดจากการลดลงของ systemic vascular resistance
Septic shock
Anaphylactic shock
Neurogenic shock
Mixed type shock
การช็อคที่มีหลายสาเหตุร่วมกัน
ระยะ
:black_flag:
Non progressive stage
่ร่างกายสามารถมีกลไกปรับชดเชยให้เข้าสู่ปกติโดยไ่ม่ต้องการการรักษาจากภายนอกร่างกาย ภาวะนี้มีความุนแรงน้อย
Progressive stage
ภาวะที่ระยะ shock ดำเนินต่อไปและแย่ลงเรื่อยๆโดยมี feedback จากร่างกายเกิดขึ้น ซึ่งจะทำให้แย่ลงเรื่อยๆ ในช่วงนี้ร่างกายไม่สามารถปรับชดเชยได้เอง ต้องรับการรักษาจากภายนอก
Irreversible stage
ีมีการล้มเหลวของหลายๆอวัยวะ จนไม่มีวิธีใดๆที่จะแก้ไขหรือปรับให้สภาวะร่างกายกลับมาสู่ปกติได้
การรักษา
: :star:
ภาวะช็อคจากอาการแพ้ จะให้ยา Epinephrine หรือยาอื่นๆเพื่อช่วยต้านสารที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้
ในรายที่สูญเสียน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย อาจให้สารน้ำเพื่อรักษาภาวะช็อค
ในรายที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดจะรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
ให้เลือดในรายที่มีประวัติเสียเลือด
แมลงสัตว์กัดต่อย
:red_flag:
งูกัด
:fire:
พิษต่อระบบต่างๆ
ระบบประสาท
ชนิดงู
งูเห่า
งูจงอาง
งูสามเหลี่ยม
อาการ
หลังถูกกัด
ตาพร่า เห็นภาพซ้อน ริมฝีปากชา
6 - 10 ชั่วโมงต่อมา
อ้าปากไม่ได้ พูดไม่ชัด กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง บริเวณที่ถูกกัดจะมีถุงน้ำเกิดขึ้น ต่อมาจะมี necrosis
ระบบเลือด
ชนิดงู
งูเขียวหางไหม้
งูกะปะ
งูแมวเซา
อาการ
หลังถูกกัดจะปวด หลังจากนั้นจะบวม
2-72 ชั่วโมง รอยจะมีสีดำคล้ำ และเกิดภาวะขาดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
ออกฤทธิ์ต่อการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือดเสียไป
ระบบกล้ามเนื้อ
งูทะเล
ออกฤทธิ์ทำลายผนังเซลล์ของกล้ามเนื้อลาย
หลังถูกกัดจะมีอาการปวดเมื่อยตามตัว และปวดที่ต่อมน้ำเหลืองเหนือส่วนที่ถูกกัด
การรักษา :recycle:
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ห้ามกรีดแผล
เคลื่อนไหวร่างกายส่วนที่ถูกกัดให้น้อยที่สุด
ไม่ควรขันชะเนาะ เพราะอาจทำให้บริเวณนั้น ขาดเลือดไปเลี้ยง
ผู้ถูกงูกัดไม่จำเป็นต้องได้รับเซรุ่มแก้พิษงูทุกราย จะได้รับเฉพาะรายที่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์เท่านั้น
แมลงหรือสัตว์ชนิดอื่นๆ
ผึ้ง ต่อ แตน :checkered_flag:
ให้ดึงเหล็กในออกก่อนเป็นอันดับแรก
ทาด้วยแอมโมเนียหรือครีมไตรแอมซิโนโลน
ถ้ามีอาการปวดมาก มีอาการแพ้ ควรรีบไปพบแพทย์
หนังตาบวม
หายใจไม่สะดวก
ตะขาบ แมงป่อง :checkered_flag:
ทาด้วยแอมโมเนียหรือครีมไตรแอมซิโนโลน
ถ้ามีอาการปวดมาก มีอาการแพ้ ควรรีบไปพบแพทย์
แผลไหม้
:red_flag:
ความหมาย
:warning:
การที่ผิวหนังถูกทำลายด้วยความร้อนหรือสารเคมี อาจเกิดตั้งแต่หนังกำพร้า หนังแท้หรือลึกลงไปถึงกระดูกได้
ประเภท
: :!:
แผลไหม้จากความร้อน
ความร้อนแห้ง flame burn
เกิดจากเปลวไฟ ประกายไฟ ทำให้เกิดอาการรุนแรง
ความร้อนเปียก scald burn
เกิกจากน้ำร้อน ไอน้ำร้อน น้ำมันร้อน อันตรายขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและระยะเวลาที่สัมผัส
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า
เมื่อกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนทำให้เกิดแผลไหม้ที่ผิวหนังภายนอก
ทำลายเนื้อเยื่อ เส้นเลือด และเส้นประสาทโดยตรง ทำให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและตายได้
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับขนาด ปริมาณของกระแสไฟฟ้า ทางที่กระแสไฟฟ้าผ่าน ระยะเวลา ตำแหน่งที่สัมผัส
กระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า ขนาด 10 - 15 มิลลิแอมแปร์ ทำให้กล้ามเนื้อหดตัว
กระแสไฟฟ้า ขนาด 50 - 100 มิลลิแอมแปร์ ทำให้กล้ามเนื้อหายใจเป็นอัมพาต
กระแสไฟฟ้าสูงกว่า 1000 มิลลิแอมแปร์ ทำให้หัวใจหยุดเต้น กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
การทำลายเนื้อเยื่อกระแสไฟฟ้ามีผลให้เนื้อเยื่อสลายตัว เกิดภาวะ myoglobinuria และส่งผลให้เกิด acute renal failure ได้
แผลไหม้จากสารเคมี
มีการทำลายเนื้อเยื่อ ความรุนแรงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารเคมีและระยะเวลาที่สัมผัส
สารเคมีที่เป็นด่างจะทำให้เกิดแผลไหม้รุนแรงมากกว่ากรด
แผลไหม้จากรังสี
สารกัมมันตรังสี อุบัติเหตุจากรังสี ระเบิดปรมาณู
เกิดการทำลายของผิวหนัง และเกิดแผลไหม้
ความรุนแรง
:black_flag:
ความลึก
First degree burn
มีการทำลายเฉพาะชั้นหนังกำพร้า ผิวหนังแดง ไม่มีตุ่มพอง หายเองใน 3 -5 วัน
Second degree burn
Superficial partial thickness
Deep partial thickness
Third degree burn
ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้น อาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
ความกว้าง
Rule of nine
ศีรษะ(หน้า,หลัง) 9 %
แขน(หน้า,หลัง)18 %
ขา(หน้า,หลัง)36 %
ลำตัวด้านหน้า18 %
ลำตัวด้านหลัง18 %
อวัยวะสืบพันธุ์ 1 %
การรักษา
:star:
ประเมินสภาพเบื้องต้นตามหลัก ABC
หยุดการเผาไหม้ที่ยังหลงเหลืออยู่ ถอดเสื้อผ้าออก
ในกรณที่เป็นสารเคมี ใช้น้ำสะอาดล้างออกให้มากที่สุด ถ้าเป็นสารเคมีผงให้ใช้แปรงขัดผงออก
ประเมินสภาพแผลไหม้
ให้สารน้ำ
การส่งตรวจเลือด
ใ่ส่สายสวนปัสสาวะ พร้อมทั้งส่งตรวจปัสสาวะ
ใส่สาย NG Tube เพื่อประเมินดูการทำงานของกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
:recycle:
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทดแทน
ตรวจสอบสัญญาณชีพ
ตวงและบันทึกปัสสาวะทุกชั่วโมง
เจาะเลือดส่งตรวจABG,CBC,electrolyte,BUN,Cr,Total protein,Albumin,PT,PTT เป็นระยะๆและติดตามผล
ป้องกันปัจจัยเสริมที่ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำมากขึ้น
ชั่งน้ำหนักวันละคร้้ง
นางสาวภัทรนันต์ กิจเจริญชาวัชร์ รุ่น 35 เลขที่ 48