Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อนโรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่2 -…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อนโรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่2
Hepatitis
สาเหตุ
เกิดจากการเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ การบาดเจ็บที่ตับ ตับแข็ง ตับวาย
พยาธิสภาพของ viral Hepatitis
Recovery Period
ระยะพักฟื้น ใช้เวลา 3-4 เดือน
มีอาการดีขึ้น และหายเป็นปกติ
Icteric Stage
ระยะตา ตัวเหลือง นาน 1 –4 สัปดาห์
มีอาการตัว ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม
Prodomal Stage
3-7 วันก่อนตาเหลือง
อาการสำคัญคือเบื่ออาหาร คลื่นไส้
อาเจียน ปวดตัว
อาการของ HAV
ตรวจพบเชื้อในอุจจาระ 2 สัปดาห์ก่อนแสดงอาการ
ใช้เวลาฟักตัว 15-50 วัน
เกิดจากเชื้อไวรัส RNA
อาการของ HBV
ฟักตัว 6 สัปดาห์-6 เดือน
ติดต่อได้ทางเลือด
เกิดจากเชื้อไวรัส DNA
การแปลผล
HBsAg - anti-HBc - anti-HBs - (ไม่ติดเชื้อและไม่มีภูมิคุ้มกัน เสี่ยงต่อการติดเชื้อ)
HBsAg - anti-HBc + anti-HBs + (ไม่ติดเชื้อในปัจจุบัน แต่เคยติดเชื้อและหายแล้ว และมีภูมิคุ้มกันแล้ว)
HBsAg - anti-HBc - anti-HBs + (ไม่ติดเชื้อในปัจจุบัน ไม่เคยติดเชื้อในอดีตและมีภูมิคุ้มกันแล้ว จากวัคซีน)
HBsAg - anti-HBc + anti-HBs - (การแปลผลไม่ชัดเจน อาจเพิ่งหายจากการติดเชื้อ)
การพยาบาล
สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ดูแลให้ผู้ป่่วยได้พักผ่อนให้เพียงพอ
ดูแลให้ผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
ติดตามเฝ้าระวังการแพร่กระจายเชื้อ
โรคไวรัสอีโบล่า
เป็นเชื้อประจำถิ่นแถบประเทศ Africa จัดอยู่ในสกุล Ebolavirus
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
สัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
พยาธิสภาพ
หลังติดเชื้อจะมีการสร้างไกลโคโปรตีนออกมา ก่อเป็นกลุ่มรวมไตรเมอร์ซึ่งยึดไวรัสกับเซลล์เนื้อเยื่อบุโพรงตามผิวด้านล่างของหลอดเลือดก่อโปรตีนไดเมอร์รบกวน neutrophil ไวรัสแพร่กระจายตามส่วนต่างๆ
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ถ่ายเหลว
เกิดลิ่มเลือดกระจายไปอุดตัน
มีเลือดอกตามร่างกาย จ้ำเลือด
การวินิจฉัย
การตรวจหา RNA ไวรัส
การตรวจหาโปรตีน โดยวิธี ELISA
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกรุนแรง
ดีซ่าน สับสน ชัก
หลายอวัยวะล้มเหลว
โคม่า หมดสติ ช็อค
การรักษา
รักษาสมดุลของของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
โรคไข้หวัดใหญ่
สาเหตุ
มี RNA 3 ชนิด A,B,C
ติดเชื้อ Influenza virus
ระยะฟักตัวของโรค 1-4 วัน
อาการ
มีไข้ หนาวสั่น ไอ
ปวดศีรษะ อ่อนล้า
คัดจมูก น้ำมูกไหล ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
การแพร่กระจาย
สัมผัสโดยตรงจากสารคัดหลั่ง
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบประสาทเกิดการติดเชื้อ
หูอักเสบ ปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
การวินิจฉัย
ตรวจหา RNA ของไวรัส
ตรวจหาน้ำเหลืองทาง Antibody
ตรวจสารคัดหลั่งภายใน 72 ชั่วโมง
ตรวจหา Antigen
การรักษา
ยาต้านมี 2 กลุ่ม
amantadine และ rimanstadine
neuraminidase inhibitor
ให้ยาต้าน Antiviral treatment ภายใน 48 ชั่วโมง
การพยาบาล
ล้างมือ กินอาหารที่มีประโยชน์
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
พักผ่อนมากๆ ลดไข้ให้ผู้ป่วย
เชื้อไข้หวัดนก
ระยะฟักตัวในคนสั้น ประมาณ1-3 วัน
อาการ
มีไข้สูงหนาวสั่น ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย
มีน้ำมูก ตาแดง
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
มีประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค
มีอาการทางระบบหายใจ
มีไข้มากกว่า 38 องศา
การเพาะหาเชื้อจากสารคัดหลั่ง
ยาที่ใช้ในการรักษา
Zannamivir
Oseltamivir
การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
หากเข้าใกล้ผู้ป่วยมากกว่า 3 ฟุต ต้องสวมหน้ากาก
ผู้ดูแลต้องสวมถุมือ
ห้ามผู้ที่เป็นหวัดเข้าเยี่ยมผู้ป่วย
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย
หากต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง
ให้ผู้ป่วยนอนห้องแยก
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส โคโรนา
ระยะฟักตัว
2-7 วัน มักไม่เกิน 10 วัน
การติดต่อ
สัมผัสกับผู้ป่วย เช่น น้ำมูก น้ำลาย
อาการ
เจ็บคอ ไอแห้งๆ ปอดอักเสบ
หายใจลำบาก
ปวดศีรษะ หนาวสั่น
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ไข้สูงมากกว่า38 องศา
MERS-CoV
มีระยะฟักตัวตั้งแต่ 2-14 วัน
อาการ
คลื่นไส้ อาเจีนยน ถ่ายเหลว
ไข้สูง ไอ หายใจหอบมากกว่า 28 ครั้ง O2 sat น้อยกว่า 90
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเชื้อ MERS-CoV
reverse-transcriptase polymerase chain reaction
ผลเอ็กซเรย์ ปอด
การรักษา/การดูแล
ให้ยาปฏิชีวนะ
รักษาตามอาการ
ให้ยาต้านไวรัส
Covid-19
ระยะฟักตัว 2-14 วัน
ช่องทางการแพร่โรค
ละอองเสมหะ
อุจจาระ
การขยี้ตา
อาการ
ไข้ ไอ เจ็บคอ
น้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบ
มีไข้ 37.5 ขึ้นไป
การรักษา
แนะนำให้นอนโรงพยาบาล 2-7 วัน
ให้ยาต้านไวรัส