Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
shcock - Coggle Diagram
shcock
-
ประเภทของการช็อค
Hypovolemic Shock
สาเหตุ
-
Water and eletrolyte loss จากท้องเสียหรืออาเจียนรนแรงหรือจาก third space loss เช่น edema , cellulitis
-
อาการและอาการแสดง
Class I
ผู้ป่วยที่มี acute blood loss น้อยกว่า 15% ของ total blood volume ผู้ป่วยจะมีเพียง pulse และ respiratory rate เพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรืออาจปกติก็ได้ มีcappilary filling time มากขึ้นเล็กน้อย Blood pressure ปกติ
Class II
ผู้ป่วยเสียเลือดประมาร 15-30% ของ total blood volume จะมีอาการ tachycardiac tachypnea และมี hypotension มีการลดลงของ CO มีการเพิ่ม peripheral vascular resistance และมี pulse pressure แคบ มีการเปลี่ยนแปลงของ urine output เล็กน้อย
Class III
ผู้ป่วยเสียเลือด 30-40% ของ total blood volume อาการแสดงเหมือนเป็น ClassII ร่วมกับ mental states การรักษาโดยการให้ crystalloid solution รวมถึงการให้ blood transfusion
Class IV
ผู้ป่วยเสียเลือดมากถึง 40-50% ของ total blood volume อาการและอาการแสดงจะพบอาการทุกอย่างของภาวะช็อคและจะวัด vital sign เกือบไม่ได้หรือไม่ได้เลย ต้องให้การรักษาแบบ physiologic treatment of shock
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรค
การให้สารน้ำและ eletrolyte ชดเชยตามชนิดที่เสียไป ในรายที่เสียเลือดมากกว่า 20% ของ blood volume ควรให้เลือดทดแทน แต่ระหว่างระเลือดควรให้สารน้ำชนิดอื่นไปก่อน เช่น normal saline หรือ balance salt solution ปริมาณและอัตราการให้สารน้ำขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภาวะช็อค ควรให้จนกว่า viral sign และ urine output จะปกติ
รักษาสาเหตุของ shock เช่น ผ่าตัด ห้ามเลือด, ทําแผล burn, รักษาท้องเสีย
-
Cardiogenic shock
ความหมาย
เกิดจากการสูบฉีดโลหิตของหัวใจเสียไป ทำให้เลือดคั่งตามหลอดเลือดดำ เพราะผ่าหัวใจลำบาก หลอดเลือดดำทั่วไปจะโป่งเห็นได้ชัดที่คอ , CVP สูง , เลือดจะคั่งในปอด เมื่อหัวใจสูบฉีดโลหิตออกมาน้อย cardiac output ต่ำ มีผลให้มีการหลั่ง cathecholamine ออกมามาก ทำให้เส้นเลือดทั่วไปหดตัว เลือดจะไปเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆน้อยลง
สาเหตุ
สาเหตุจากหัวใจเอง
กล่้ามเนื้อหัวใจ เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน , กล้ามเนื้อหัวใจพิการ(cardiomyopathy) , กล้ามเนื้อหัวใจถูกกดจาก septic shock
-
สาเหตุจากโครงสร้างของหัวใจผิดปกติ เช่น โรคของลิ้นหัวใจ , ผนังระหว่างหัวใจรั่ว
สาเหตุภายนอกหัวใจ
หัวใจโดนกดจากเลือด , น้ำ หรือลมในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ(cardiac tamponade) หรือจากเยือ่หุ้มหัวใจที่หนาตัวขึ้น (constrictive pericarditis)
ปอดมีพยาธิสภาพทำให้หัวใจปั๊มเลือดออกไปไม่ได้ เช่น pulmonary embolism , emphysema , bronchopneumonia , pulmonary hypertension อย่างรุนแรง
-
-
อาการและอาการแสดง
จะคล้าย hypovolemic shock การตรวจพบที่ต่างจากช็อคชนิดอื่นๆ คือ จะพบมีหลอดเลือดดำที่คอโป่ง (engorged neck vein) และ CVP สูง นอกจากนั้นผู้ป่วยอาจมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตายและอาจตรวจพบมีเสียงหัวใจผิดปกติ , มีการเต้นผิดจังหวะของหัวใจหรือมีเสียงปอดผิดปกติแล้วแต่สาเหตุของช็อค
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรค
โดยการรักษาโรคที่เป็นสาเหตุ เช่น ให้ยา antiarrhythmic ในรายที่หัวใจเต้นผิดจังหวะ , ให้ diuretic ในราย fluid/blood overload , ผ่าตัดแก้ไข cardiac tamponade , ให้ยา coronary vasodilator .นรายที่กล้ามเนื้อหัวใจตาย
-
Septic shock
สาเหตุ
เกิดจากโรคติดเชื้อแบคทีเรียกรัมลบ เช่น Ecoli , Klebsiella , anaerbic bacteroids ภาวะช็อคจาก exotoxin ของแบคทีเรียกรัมบวกมักพบได้น้อย
อาการและอาการแสดง
ในระยะแรกต่างจากช็อคอย่างอื่น คือ ในระยะแรกผู้ป่วยจะมีผิวหนังอุ่น สีชมพู จากผลของหลอดเลือดขยายตัว และ urine output จะดี เนื่องจาก cardiac ourput เพิ่ม ต่อมาระยะหลัง อาการจะเหมือนช็อคอย่างอื่น ผู้ป่วยอาจมีไข้จากการตืดเชื้อและอาจพบสาเหตุของการติดเชื้อ เช่น แผล , cullulitis
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรค
การกำจัดสาเหตุของการติดเชื้อ เช่น เจาะระบายหนอง , ตัดเนื้อตายออกใน cellutitis
-
การรักษาแบบประคับประคอง
-
รักษาภาวะสมดุลของกรดด่างในร่างกาย โดยมากผู้ป่วยจะเกิดภาวะ metabolic acidosis อาจจำเป็นต้องแก้ไขด้วยการให้ sodium bicarbonate
ให้ fluid ให้เพียงพอ โดยดูจาก CVP , PCWP และปริมาณปัสสาวะ
-
-
-
-
์Neurogenic shock
ความหมาย
เป็นภาวะช็อคที่เกิดจากการเสียสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด เป็นผลทำให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงขึนอย่างทันทีทันใด เลือดจะไปคั่งอยู่ที่หลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ทำให้ปริมาณเลือดไหลกลับหัวใจน้อยลงและการเสียสมดุลของประสาทอัตโนมัติจะทำให้หัวใจเต้นช้าลงด้วย จากผลดังกล่าวทำให้ cardiac output ลดลง และความดันเลือดลดลง ทำให้เกิดภาวะช็อค
สาเหตุ
สาเหตุจากจิตใจ เช่น ความเจ็บปวดหรือความกลัว , ความตกใจ เช่น เห็นเลือด ได้ข่าวร้าย
สาเหตุอื่นๆ เช่น อวัยวะภายในโดนดึงรั้ง เช่น acute gastric dilatation , spiral cord injury , high spiral/epidural anesthesia
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย คือ อาการเป็นลม ซึ่งเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ผู้ป่วยจะมีมือเท้าอุ่นและผิวหนังแดงจากผลของหลอดเลือดขยายตัว ซึ่งต่างจากช็อคจากสาเหตุอื่น ความดันโลหิตอาจจะต่ำและชีพจรเต้นช้า
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรค
การหาสาเหตุถ้าทำได้ เช่น ใส่ N-G tube ในรายที่มี acute gastric dilataton หยุดดึงรั้งอวัยวะภายใน หยุดการทำหัตถการที่ทำให้ผู้ป่วยเจ็บปวดหรือกลัว
-
Anaphylactic shock
ความหมาย
เกิดจากการแพ้สารแปลกปลอมหรือแพ้ยา โดยผู้ป่วยมักเคยได้รับสารหรือยาชนิดนี้มาก่อน เมื่อได้รับอีกก็จะทำให้เกิด antigen - antibody reaction ทำให้มีการปล่อย mediator หลายชนิดออกมาจาก mast cell
-
-
-
การแบ่ง phase ของการช็อก
-
-
Irreversible Cellular injury มากเกินไปจากการขาดเลือด แม้ให้เลือดกลับเข้าไปก็ไม่สามารถกลับมามีชีวิตได้อีก
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การซักประวัติ
การซักประวัติในขั้นตอนแรก อาจซักประวัติโดยสังเขปอย่างรวดเร็วก่อนเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข ประวัติโดยละเอียดสามารถซักเพิ่มเติ่มได้ภายหลัง
การตรวจร่างกาย
ตรวจในระบบที่สำคํญโดยประเมิน vital sign เป็นอันดับแรก เพื่อดูระดับความรุนแรงของช็อค ดูระดับความรู้สึกตัวและค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยช็อค เช่น บาดแผล การติดเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ส่งตรวจนนระยะแรก เช่น Hematocrit , arterial blood gas และส่งตรวจบางอย่างที่สำคัญ เพื่อประเมินการทำงานของอวัยวะหลังจากรักษาแล้ว เช่น liver function test, BUN ,Creatinine
ความหมาย
สภาวะที่มีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ(inadequate tissue perfusion) ทำให้การนำสารต่างๆที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์และการกำจัดของเสียออกจากเซลล์ไม่เพียงพอ ทำให้เซลล์ถูกทำลายและตายไป Shock เป็นภาวะที่ต้องได้รับการวินิจฉัยอย่างรีบด่วนเพราะถ้าทิ้งไว้นาน อวัยวะต่างๆในร่างกายจะเป็นอันตรายและผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้
อาการและอาการแสดง
ภาวะช็อคเกิดจากสาเหตุได้หลายสาเหตุ จะมีอาการและอาการแสดงคล้ายๆกัน อาการและอาการแสดงจะเกิดกับระบบต่างๆของร่างกายทุกระบบ และเกิดจากเลือดไปเลี่ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ ในระยะแรกร่างกายจะมีการปรับตัวโดยการหดของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง nonvital tissue ก่อน เช่น ผิวหนัง connective tissue กระดูกและกล้ามเนื้อ ต่อมาเมื่อเป็นมากขึ้น หลอดเลือดที่ไปเลี้ยง vital organ ก็จะตีบด้วย เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับและไต อาการและอาการแสดงจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุของภาวะช็อค อาการโดยทั่วไปจะคล้ายกัน