Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Toyota Production System TPS (SMEs) - Coggle Diagram
Toyota Production System TPS (SMEs)
วัตถุประสงค์ในการประกอบการ
ช่วยพัฒนาให้สังคมดีขึ้นโดยผ่านกิจกรรมทที่ปฏิบัติร่วมกันเป็นหมู่คณะ
ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของพนักงานมีความมั่นคง
ช่วยส่งเสริมความเป็นอยู่ของลูกค้าให้มีความสะดวกสบายขึ้น
4 กิจกรรมหลักในการทำ TPS สำหรับ SMEs
2.Continuous Flow
ทำให้ชิ้นงานสามารถไหลได้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการโดยไม่มีการหยุดระหว่างการผลิต
ขั้นตอนการดำเนินงาน
วิเคราะห์การไหลของงานด้วย Material Flow Chart (MFC)
จัด Line ของงานให้เกิด Smooth flow
จัดทำตาราง Part List
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วย Multi Process Handlig
ผลที่ได้รับ
ลด Lead Time ในการผลิต
ลดพื้นที่ในการทำงาน
ลดปริมาณสินค้าคงคลัง
ลดระยะทางในการเคลื่อนไหว
3
.Standardized Work
ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและทำงานเป็นมาตรฐานทุกครั้ง
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.วิเคราะห์สภาพการทำงาน ณ ปัจจุบันด้วย SAN TEN SET
2.ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานด้วย YAMAZUMI CHART และ LINE BALANCE
3.จัดทำมาตรฐานการทำงานจาก SAN TEN SET หลังปรับปรุง
องค์ประกอบ 3 ประการของงานมาตรฐาน
1.Takt Time คืองานมาตรฐานทางเวลาในการผลิตของ 1 ชิ้น ในเวลาที่กำหนด
2.ลำดับการทำงาน คือ ลำดับในการผลิต
3.Standard Work In Process คือจำนวนชิ้นงานที่จำเป็นต้องมีไว้เพื่อทำซ้ำในลำดับเดียวกัน
ผลที่ได้
ลด Muda (ความสูญเปล่า)ในหารทำงาน
เพิ่มผลิตภาพการทำงานของชั่วโมงการทำงานของพนักงานแต่ละคน
จัดสรรจำนวนพนักงานที่ใช้ในการผลิตอย่างเหมาะสม
ลดพื้นที่การทำงาน
สร้างมาตรฐานการทำงานของแต่ละกระบวนการ
1
.Worksite Control
ทำให้สภาพการทำงานสามรถเข้าใจและควบคุมได้ง่าย
ขั้นตอนการดำเนินงาน
การควบคุมดูแลเงื่อนไข
การควบคุมการผลิต
สร้างคุณภาพเข้าไปในกระบวนการ
การควบคุมการจัดส่ง
ความปลอดภัย
การควบคุมกำลังคน
2ส(สะสาง,สะดวก)
ผลที่ได้รับ
พนักงานเข้าใหม่สามารถทำงานได้สะดวกขึ้น
สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
สภาพการทำงานมีความปลอดภัย
4. Pull System
ผลิตของที่ต้องการตามจำนวนที่ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ
ผลิตของที่ต้องการตามจำนวนที่ต้องการ ในวลาที่ต้องการ
2.เรียบเรียงปัญหาที่พบด้วย Stagnation
3.วิเคราะห์ขั้นตอนทำ Staging และ Shipping ด้วย Shipping Time Chart
4.จัดทำ Waiting Post & Delivery Control Board
5.จัดทำ Lot Making Post
1.วิเคราะห์การไหลของงานและข้อมูลด้วย MATERIAL&INFORMATION FLOW CHART
ผลที่ได้
ลดความสูญเปล่าจากการผลิตมากเกินไป
กำจัดความล่าช้าในการจัดส่งสินค้าให้ทันตามเวลาที่กำหนด
ลดจำนวน Stock
ลดพื้นที่ในการจัดเก็บ Stock
บทนำ
มุดะ
.
.
มุดะมีหลายประเภท
มุดะของกรรมวิธีการผลิต
มุดะจากการขนส่ง
มุดะจากการเคลื่อนไหว
มุดะจากการรอ
การลดต้นทุนโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
2.การเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร
3.การเพิ่มประสิทธิภาพของวัตถุดิบ
1.การเพิ่มประสิทธิภาพของคน
ความแตกต่างของอัตราส่วนความสามารถของเครื่องจักรและความสามารถของเครื่องจักร
อัตราส่วนความสามารถของเครื่องจักร
อัตราส่วนของการเดินเครื่องจริง (พอตอบสนองความต้องกร) ต่อกำลังการผลิตรวม เมื่อใช้ความสามารถของเครื่องจักรอย่างเต็มที่ในชั่วโมงการทำงานปกติ แสดงออกมาในรูปเปอร์เซ็นต์ ค่าที่ได้จะมากหรอน้อยกว่า 100% ก็ได้
ความสามารถของเครื่องจักร
ความพร้อมของเครื่องจักรที่จะปฏิบัติงานได้ในเวลาที่ต้องการ ระดับที่เป็นอุดมคติ คือ 100%เสมอ
ประโยชน์ของการนำ TPS ไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ
สินค้าคงคลังลดลง
กำไรเพิ่มขึ้น
ของเสียลดลง
คุณภาพสินค้าได้รับการปรับปรุง
พัฒนาบุคลากร
ระบบการผลิตแบบโตโยต้า
การผลิตแบบทันเวลาพอดี
ผลิตของที่ต้องการในเวลาที่ต้องการเฉพาะริมาณที่ต้องการ
จิโดกะ
เน้นคุณภาพ
หยุดเมื่อเกิดความผิดพลาด
สร้างคุณภาพในแต่ละกระบวนการ
หยุดหลังงานเสร็จ
ต้องการกำลังคนน้อย