Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
พยาธิวิทยาระบบทางเดินอาหาร
โครงสร้างของทางเดินอาหาร
ส่วนที่เป็นทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหาร (stomach)
กระเพาะอาหารเปรียบเสมือนกับห้องกินข้าว มีการย่อยอาหารให้เล็กลงไปอีก สมาชิกของครอบครัวก็เปรียบเทียบได้กับน้ำย่อยอาหาร เพื่อมาย่อยอาหารให้เล็กลงไป เพื่อจะได้ซึมผ่านผนังของลำไส้ไ
ลำไส้เล็ก (small Intestine)
ลำไส้เล็กมีหน้าที่ในการดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้วนี้ เพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายต่อไปเพื่อให้เกิดพลังงาน
หลอดอาหาร (esophagus)
อาหารที่ คลุกเคล้าเรียบร้อยแล้ว จะลำเลียงส่งผ่านหลอดอาหาร เพื่อไปยังกระเพาะอาหารต่อไป
ลำไส้ใหญ่ (Large Intestine)
กากอาหารที่เหลือจากการย่อยแล้วนั้น ผนังของลำไส้เล็กไม่สามารถดูดซึมผ่านไปได้ ก็จะผ่านมาทางลำไส้ใหญ่ เพื่อส่งต่อไปยังทวารหนักหรือช่องส้วม
ปาก (mouth หรือ oral cavity)
ปากเปรียบเสมือนกับโรงครัว ที่มีฟันช่วยในการบดและตัดอาหาร ให้เป็นชิ้นเล็กพอสมควร โดยมีน้ำลายคล้ายๆ กับผงชูรส คลุกเคล้าอาหารให้เข้ากัน
ทวารหนักหรือช่องส้วม ( Anus) เทียบได้กับถังขยะที่ทิ้งเศษอาหารที่เหลือจากการถูกย่อย ขับถ่ายของเสียออกนอกร่างกาย
ต่อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ GIT
ต่อมน้ำลาย
เป็นต่อมที่สร้างน้ำลายอยู่ภายในบริเวณช่องปาก จะผลิตน้ำลายเพื่อเป็นน้ำย่อยและคลุกเคล้าอาหาร
มี3 ต่อม
Submaxillary gland หรือ Submandibular glandพบได้ที่บริเวณขากรรไกรล่าง ผลิตน้ำลายทั้งชนิดเหนียว และ ใส แต่ชนิดใสจะมากกว่า เป็นต่อมที่สร้างน้ำลายได้มากที่สุด
Sublingual gland ขนาดเล็กที่สุด พบได้ที่บริเวณใต้ลิ้น ผลิตน้ำลายทั้งชนิด เหนียว และ ใส แต่ชนิดเหนียวจะมากกว่า
Parotid gland พบได้ที่บริเวณกกหู ผลิตน้ำลายชนิดใสชนิดเดียว
ตับอ่อน / ตับ
มีความสำคัญอย่างมากในการควบคุมระบบการเผาผลาญอาหารภายในร่างกาย นอกจากตับจะทำหน้าที่สังเคราะห์ และหลั่งเอ็นไซม์ เพื่อช่วยในการย่อยและการดูดซึมแล้ว ตับยังทำหน้าที่เป็นที่เก็บ และกำจัดสารพิษอีกด้วย ตับและตับอ่อน
โรคของต่อมน้ำลาย
Mumps
เป็นการอักเสบแบบ acute interstitial
inflammation การอักเสบเฉียบพลัน
ติดต่อกันโดยทาง น้ำลาย เสมหะ มักจะพบใน
เด็กอายุ 5-10 ปี
อาจมีเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบร่วมด้วย
(Meningoencephalitis)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส กลุ่ม Paramyxovirus
โรคของลำไส้เล็ก
Intussusception
ส่วนที่กลืน เรียก intussuscipien ส่วนที่ถูกกลืนเรียก intussusceptum
สาเหตุ
ยังไม่ทราบว่าอะไรเป็นสาเหตุ
บางรายพบว่า เกิดหลังการติดเชื้อของลำไส้
หรือ จากความผิดปกติในผนังของลำไส้เล็ก ตั้งเเต่กำเนิดเช่น ก้อนติ่งเนื้อ (Polyps)
เป็นภาวะที่ลำไส้เล็กส่วนต้นถูกกลืนโดยลำไส้เล็กส่วนปลาย
Intestinal adhesion
Content ผ่านไม่สะดวก เป็นมากท าให้ลำไส้อุดตันได้
สาเหตุจากการอักเสบหรือภายหลังการผ่าตัดในช่องท้อง
การติดกันของลำไส้ หรือการที่ลำไส้ติดกับอวัยวะ
ส่วนอื่น ทำให้มีการดึงรั้งลำไส้
ความพิการแต่กำเนิด
Congenital atresia เป็นภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของลำไส้เล็ก
Congenital stenosis เป็นภาวะที่
บางส่วนของลำไส้เล็กตีบ
Intestinal obstruction
ภาวะที่สิ่งต่างๆในลำไส้ได้แก่ น้ำ อาหาร น้ำย่อย
และของเหลวต่างๆในลำไส้ไม่สามารถเคลื่อนผ่านได้ปกติ
อาจเกิดจากลำไส้ไม่บีบตัวขับเคลื่อนสิ่งต่างๆในลำไส้ตามปกติ เรียก“ภาวะลำไส้อืด (Paralytic ileus) หรือ Non mechanical obstruction”
ความผิดปกติในหน้าที่ตับอ่อน
(Disorders of the pancreas)
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
(Acute pancreatitis)
เกิดจากท่อในตับอ่อนได้รับบาดเจ็บหรือมีการแตก น ้าย่อยจากตับอ่อนจะย่อยเนื้อเยื่อตนเอง
การอุดตันทางเดินน ้ำดี ทำให้น้ำดีไหลเข้าสู่ตับอ่อน
แอลกอฮอล์ ทำให้ตับอ่อนหลั่งน้ำย่อยมากขึ้น และทำให้
Oddi sphinctor หดเกร็ง
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
(Chronic pancreatitis)
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรังมีความผิดปกติของโครงสร้างและหน้าที่
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Chronic calcifying pancreatitis มักพบในผู้ป่วยพิษสุราเรื้อรัง
Chronic obstructive pancreatitis มีความสัมพันธ์กับการตีบของ Oddi sphinctor
มักมีความสัมพันธ์กับการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ รับประทานอาหารมัน ภาวะเเคลเซียมในเลือดสูง การอุดตันท่อในตับอ่อนเป็นเวลานาน
โรคของลำไส้ใหญ่
Diverticular disease
การที่ mucosa มีลักษณะคล้ายถุงยื่นเป็นติ่ง
ออกไปจาก muscle layer ของผนัง colon
ทำให้เกิดการหนาตัวของกล้ามเนื้อรอบๆติ่ง→
เพิ่มแรงดัน →ติ่งแตก →abscess, peritonitis
Hemorrhoid
hemorrhoidal tissue จะมีหน้าที่ ป้องกัน กล้ามเนื้อของ ทวารหนัก หูรูด ระหว่างถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณนั้น
เกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดดำนานๆ เกิดจากการเบ่งอุจจารบ่อยๆ
ริดสีดวงทวาร เกิดจากการโตขึ้นของกลุ่มเส้นเลือดเนื้อเยื่อ บริเวณส่วนปลายของลำไส้ตรง ที่เรียกว่า
hemorrhoidal tissue
Imperforate anus
เกิดจากเนื้อเยื่อที่แยกระหว่าง rectum กับ Anus ที่ควร
หายไปตั้งแต่ทารกในครรภ์อายุ 8 สัปดาห์ยังคงอยู่
เกิดภาวะลำไส้อุดตันได้
ความพิการแต่กำเนิด
Hirschsprung’s disease or Congenital megacolon มักพบในเพศชาย พยาธิสภาพพบที่ rectum และ sigmoid colon
ไม่มี ganglion cell ใน colon จึงไม่มี peristalsis
ทำให้ content ผ่านไม่ได้
Tonsillitis
Acute tonsillitis
เกิดจากเชื้อ Streptococcus Staphylococcus
พบ tonsil บวมโต มี exudate สีขาวคลุมอยู่ที่ผิว
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ Peritonsillar abscess เกิดจากต่อมทอนซิลอักเสบจนลามไปเป็นฝี
Chronic hypertrophic tonsillitis
พบ tonsil มีขนาดใหญ่กว่า 2 ซม. เนื่องจากมี lymphoid hyperplasia
เกิดจากการอักเสบของ tonsil เป็นๆหายๆ
โรคของหลอดอาหาร
Achalasia
จำนวน myenteric ganglion cell ในผนังหลอดอาหาร
ที่ทำหน้าที่ควบคุมการหดตัวเพื่อบีบไล่อาหารมีจำนวนลดลงหรือไม่มี
กลืนอาหารลำบากและสำลัก โดยเฉพาะเวลา
กลางคืน
Esophageal varices
หลอดเลือดด าโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง
เป็นเส้นเลือดที่ท่ออาหาร esophagus ส่วนล่าง
เกิดการขยายตัว ทำให้เกิดผนังของเส้นเลือดบางลง เกิดการฉีกขาด เเละเลือดออก
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเลือดออก คือ cirrhosis
ความพิการแต่กำเนิด
Esophageal atresia เป็นภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดอาหาร
Esophageal stenosis เป็นภาวะที่บางส่วนของ
หลอดอาหารตีบ
Disorders of the gall bladder
นิ่วในทางเดินน้ำดี (Gallstones)
Choledocholithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดิน น้ำดีร่วม เกิดจากการอักเสบของท่อน้ำดี (Cholangitis)
hepatolithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีภายในตับ มีแคลเซียมเป็ นส่วนประกอบหลัก มีสีน ้าตาล เรียก Brown pigmentstones
นิ่วในทางเดินน้ำดี (Gallstones) หมายถึงนิ่วที่เกิดขึ้นเเละมีน้ำเดินในถุงน้ำดี อาจพบในถุงน้ำดี หนือท่อน้ำดีก็ได้
Cholecystitis การอักเสบของถุงน้ำดีจากโรคนิ่ว
ก้อนนิ่วจะไปอุดตันท่อน ้าดีส่งผลให้น้ำดีไหลจากถุงไม่ได้
ถุงน้ำดีจึงขาดเลือด เนื้อเยื่อถุงน้ำดีจึงเกิดการ
บาดเจ็บ เกิดเป็นการอักเสบขึ้น
นิ่วในทางเดินน้ำดี แบ่งเป็น 2 ชนิด
Cholesterol stones นิ่วที่ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล
พบบ่อยประมาณ 80% ของนิ่วในถุงน ้าดีทั้งหมด
เกิดจากการมีCholesterol เพิ่มขึ้นในน้ำดี หรือการบีบตัวของกล้ามเนื้อในถุงน้ำดีมีสมรรถภาพไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถบีบสารออกได้หมด
สาเหตุและกลไกการเกิด
การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนความเข้มข้นในน้ำดี
การไม่เคลื่อนที่ของน้ำดี
Pigment or bilirubin stones
มักพบในผู้ป่วยโรคตับเเข็ง เเละมีความผิดปกติทางเลือด
สาเหตุและกลไกการเกิด
เกิดจากการมี unconjugated bilirubin เพิ่มมากขึ้นในน ้าดี เนื่องจากมีการท าลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ หรือมีการอักเสบถุงน ้าดีและท่อน ้าดีเรื้อรัง
มีขนาดเล็กกว่าและมีสีคล้ำกว่าชนิดที่เกิดจาก
คอเลสเตอรอล
โรคของช่องปาก
ความพิการแต่กำเนิด Hare Lip and Cleft palate
ปากแหว่ง
เกิดที่ด้านบนของริมฝี ปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยลงเรียก ปากเเหว่งไม่สมบรูณ์ สาเหตุ เกิดจากจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง ไม่สมบรูณ์
เพดานโหว
เกิดจากความบกพร่องของการเชื่อมของส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง (lateral palatine processes) , ผนังกลางจมูก(nasal septum) , และ/หรือส่วนยื่นเพดานปากกลาง
เเบ่งเป็น2ชนิด
ชนิดสมบรูณ์ มีรอยเเยกทั้งเพดานเเข็งเเละเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีขากรรไกรด้วย
ชนิดไม่สมบรูณ์ มีช่องอยู่เพดานปาก มักเป็นเพดานอ่อน
โรคปากแหว่งเพดานโหว่
สามารถเกิดกับทารกในครรภ์ ในช่วงเดือนที่ 2 และเดือนที่ 3 มีความผิดพลาดในการสร้งอวัยวะ เช่น ปากและเพดานปาก
การอักเสบ
Periodonitis
เป็นการอักเสบเนื้อเยื่อรอบๆฟัน มักเกิดที่เหงือกก่อน แล้วลุกลามท าลาย tissue ถ้าอักเสบเรื้อรัง อาจท าให้เหงือกร่น (Gingival recession)
Dental caries
รอยโรคที่มีการทำลายสาร enamel และ
dentine โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ Osteomyelitis และ Cellulitis
Gingivitis
เศษอาหารหมักหมม หรือหินปูนพอกอยู่ที่ฟัน ทำให้ Bacteria เจริญได้ดี เเละอาจเกิดการอักเสบ
Recurrent herpes labialis
เกิดจาก herpes simplex virus ระยะแรกเป็ น vesicle ขนาดเล็ก ที่
mucocutaneous junction ของริมฝี ปาก ต่อมาแตกเป็นแผล และอาจมี secondary infection ถ้าร่างกายมีความต้านทานลดลง จะเกิดรอยโรค
ซ้ำบริเวณเดิม
ฟัน
เคลือบฟัน (enamel) : เป็นส่วนที่แข็งที่สุดของฟัน มี แคลเซียมและฟอสเฟต
เนื้อฟัน (dentine) : เป็นส่วนที่แข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน มีความเเข็งพอๆกับกระดูก
โพรงประสาทฟัน (pulp) : เป็นที่อยู่ของเส้นเลือที่นำอาหารมาเลี้ยงฟัน เเละนำของเสียออกจากฟัน เเละมีเส้นประสาทรับความรู้สึกฟัน
เคลือบรากฟัน (cementum) : เป็นส่วนของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อยู่ภายในรากฟัน ด้านหลังของเหงือก มีเส้นประสาทไหลเวียนมาก
เหงือก (gingiva) : เนื้อเยื่อที่หุ้มกระดูกเเละตัวฟัน ขากรรไกรไว้
Aphthous ulcer
เป็นแผลที่เกิดซ้ำในช่องปากมักเป็นแผลตื้น แผลเดียวหรือหลายแผลพร้อมกัน คลุมด้วย exudate สีเทาและรอบๆเป็นสีแดง หายภายใน 1 สัปดาห์
Oral candidiasis (Thrush)
เกิดจากเชื้อรา Candida albicans พบในเด็กเล็ก/ภูมิต้านทานต่ำ บริเวณอักเสบจะคลุมด้วย fibro-suppurative exudate มีเชื้อราป่นอยู่
โครงสร้างและสรีรวิทยาของตับ
หน้าที่ของตับ
ทำการเปลี่ยนโครงสร้างและขับสารพิษและยาออกจากร่างกาย
มีการสลายและขับออกของฮอร์โมน
ควบคุมการสร้างและสลายโปรตีน ไขมัน วิตตามิน
สร้างและหลั่งน้ำดี ควบคุมการสร้างและสลายคาร์โบไฮเดรท
ความผิดปกติของตับ
(Portal hypertension)
การอุดตันที่เกิดในเส้นเลือดพอร์ตัล
(Prehepatic block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในตับส่วน sinusoids
(Intrahepatic sinusoidal block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในเส้นเลือดด าเฮปพาติก
(Posthepatic block)
Portal hypertention
การเกิด Portal hypertention ระยะยาวท าให้เกิดปัญหา
Varices
เส้นเลือดขอด
splenomegaly อาการม้ามโต
ascites อาการท้องมาน
hepatic encephalopathy โรคสมองจากโรคตับ
Ascites
ภาวะท้องมานเป็นการสะสมของเหลวในช่องท้อง โดยมีสาเหตุ
จากโรคตับเรื้อรัง มะเร็ง หัวใจขวาล้มเหลว ตับอ่อนอักเสบ
มีการรบกวนการไหลเวียนเลือดจาก liver สู่hepatic vein เเละ vena cava ภาวะalbumin ต่ำ
Hepatitis
เป็นการอักเสบของตับเกิดจากการติดเชื้อ virusหรือ reactionจากยาและสารเคมี
มีการทำลาย parenchymal cell และมีtransaminases (SGOT ,SGPT) ปล่อยเข้ากระแสเลือด
Jaundice
ระดับ bilirubin ในเลือสูงกว่าปกติสองเท่า อาการ ผิวหนัง ตา sclera เหลือง
สาเหตุ มีการแตก RBC เพิ่มขึ้น มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin ลดการconjugation ของ bilirubin มีการอุดตันของทางเดินน้ำดี
Cirrhosis
เป็นความผิดปกติของตับที่เกิดจากการอักเสบมี
fibrosis และมี nodular regeneration ทำให้มีความ ผิดปกติทั้งโครงสร้างและหน้าที่ของตับ
ตับมีรูปร่างผิดปกติ เกิดการอุดตันของทางเดินน้ำดี เกิด portal hypertention
Stomach
ความพิการแต่กำเนิด
Diaphragmatic hernia ทำให้พบส่วนที่เป็นทางเดินอาหารในทรวงอกได้
Congenital pyloric stenosis เป็นสาเหตุทีพบได้บ่อยของภาวะ ลําไส้อุดตันในเด็กทารก โดยมีสาเหตุเกิดจากการหนาตัวทีผิดปกติและการเพิมจํานวนของเซลล์ทีอยู่ในชัน กล้ามเนือทีบริเวณพัยลอรัส ซึงทําให้ช่องหูรูดกระเพาะอาหารแคบและยาวออก
ความผิดปกติของกระเพาะอาหาร
Peptic ulcer
เกิดจากความเสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรด
โรคกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน (Acute ulcer)
มีลักษณะเป็นแผลตื้นไม่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ
กระเพาะอาหาร
มักพบเป็นแผลหลายจุด เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว และ
หายเองประมาณ 6 สัปดาห์
ตำแหน่งที่พบได้ เช่น หลอดอาหารส่วนล่าง กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้นที่ติดกับ กระเพาะอาหาร
สาเหตุ
ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อจากอุจจาระของผู้ติดเชื้อ
การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ได้แก่ แอสไพริน เเละกลุ่มยาเเก้ปวดข้อ
การติดเชื้อ Helicobacter pylori แบคทีเรียแกรมลบ
ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เช่น
ความเครียดทางอารมณ์
การสูบบุหรี่ เเละ เเอลกอฮอล์
ภาวะที่เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย เเละเกิดเเผล
โรคกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง (Chronic
peptic ulcer)
เป็นแผลที่พบได้ในทุกส่วนของกระเพาะอาหาร ทั้งส่วน
กระเพาะอาหาร ฟันดัส ไพโรริก และแอนทรัม
สาเหตุมักพบเกิดจากความสามารถในการป้องกันกรด
และเปปซินของกระเพาะอาหารลดลงทำให้เกิดแผลได้ง่าย
แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenal ulcer)
มักพบในทุกวัย โดยเฉพาะคนที่มีภาวะ มีความเครียดสูง วิตกกังวลมาก รวมถึงพฤติกรรมการดื่มสุรา เเละสูบบุหรี่
สาเหตุจากการหลั่งกรดที่มากขึ้น
Gastritis
เป็นการอักเสบของ gastric mucosa จากสารระคาย
เคืองและความบกพร่องกลไกป้ องกัน
mucosa เกิดอันตรายต่อเส้นเลือด→บวม →เลือดออก →รอยถลอก →เสี่ยงเป็นมะเร็ง
ชนิดกระเพาะอาหารอักเสบ
Acute gastritis
สาเหตุ ระคายเคืองจาก อาหาร ยา แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
พยาธิสภาพเริ่มจากอาการเลือดคั่งและบวมของเยื่อ
บุกระเพาะอาหาร
Chronic gastritis
เกิดจากการท้นกลับน้ำดี,การระคายเคืองเรื้อรัง การดื่ม
เหล้า ยาASA การติดเชื้อ Helicobacter pylori
รอยโรค เกิดรอยแผลเป็ น→ลุกลามเลือดออก แผลใน
กระเพาะอาหาร
แผลที่กระเพาะอาหาร(Gastric ulcer)
สาเหตุมักพบเกิดจากความสามารถในการป้องกันกรด และเปปซินของกระเพาะอาหารลดลงท าให้เกิดแผลได้ง่าย
เป็นแผลที่พบได้ในทุกส่วนของกระเพาะอาหาร ทั้งส่วน
กระเพาะอาหาร ฟันดัส ไพโรริก และแอนทรัม
Peptic ulcer perforate
ผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องมาก
สาเหตุ
การติดเชื้อ Helicobacter pylori
การใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID ใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดและลดอาการอักเสบในโรคข้ออักเสบต่าง ๆ เช่น ข้ออักเสบรูมาตอยด์ ข้อกระดูกเสื่อม
น้ำย่อยในกระเพาะอาหารมีฤทธิ์เป็นกรดเมื่อกระเพาะทะลุกรดในกระเพาะจะหลั่งออกมาในช่องท้อง ทำให้เยื่อบุช่องท้อง peritoneum อักเสบเรียกช่องท้องอักเสบ peritonitis