Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจบริเวณช่องท้อง - Coggle Diagram
การตรวจบริเวณช่องท้อง
-
การดู
-
-
-
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารหรือลำไส้ (visible peristalsis)
แสดงถึงการอุดตันในทางเดินอาหาร การเคลื่อนไหวของผนังหน้าท้องขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าและออก
การคลำ
วิธีการคลำ
การคลำเบาๆหรือตื้นๆ (Light palpation) โดยใช้ปลายนิ้วมือวางชิดกัน กดค่อยๆตามบริเวณต่างๆของหน้าท้อง และสังเกตสีหน้าผู้ป่วย
Rigidity : เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตลอดเวลาเมื่อถูกกด แสดงว่ามีการอักเสบที่ Parietal peritoneum
-
Rebound tenderness : รู้สึกเจ็บเมื่อผู้ตรวจเอามือกด
ลึก ๆ และปล่อยโดยเร็ว แสดงว่ามีการอักเสบของ Parietal peritoneum
-
-
การคลำตับ
วิธีตรวจ : ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังผู้ป่วย มือขวาวางราบบนผนังหน้าท้อง ให้ปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วย
การคลำโดยวิธีเกี่ยว (Hooking technique) วิธีตรวจ : ผู้ตรวจยืนทางขวาและหันหน้าไปทางปลายเท้าผู้ป่วยใช้นิ้วกดลงบริเวณใต้ชายโครงขวา แล้วดึงเข้าหาชายโครง ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ
การคลำลึกๆ หรือการคลำโดยใช้สองมือ (Deep / bimanual Palpation) เป็นวิธีการที่ใช้ตรวจอวัยวะที่โตกว่าปกติและคลำหาก้อนในช่องท้อง
การคลำม้าม
วิธีตรวจ : ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้าย
มือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้ายเริ่มคลำที่หน้าท้องด้านล่างซ้าย เพื่อป้องกันการผิดพลาดในรายที่ม้าม
โตมาก ๆ จะสามารถคลำพบม้ามได้เมื่อม้ามโตกว่าปกติอย่างน้อย 3 เท่า
ซึ่งพบได้ในผู้ป่วยที่มี Portal hypertension, Polycythemia
-
การเคาะ
การเคาะท้อง
การตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ (Shifting dullness)
หลักการ : สารน้ำจะเปลี่ยนที่ไปอยู่ส่วนที่ต่ำสุดเสมอตามแรง
โน้มถ่วง
วิธีตรวจ : ผู้ป่วยนอนหงาย เริ่มเคาะจากสะดือไปด้านข้างทั้งซ้ายและขวา จนถึงแนวเส้นกลางรักแร้ ในคนปกติจะเคาะได้เสียงโปร่ง ถ้ามีน้ำในช่องท้องจะได้เสียงทึบ เเละให้ผู้ป่วยพลิกตัว บริเวณที่มีสารน้ าจะเปลี่ยนที่มาอยู่ข้างล่าง ดังนั้นบริเวณเอวข้างบนที่เคยเคาะทึบจะเปลี่ยนเป็นโปร่ง เพราะน้ ามาอยู่ข้างล่าง
การตรวจการสั่นสะเทือนของสารน้ำ (Fluid thrill)
หลักการ : สารน้ำในช่องท้องจะเป็นตัวทำให้เกิดการสั่สะเทือน วิธีตรวจ : ผู้ป่วยนอนหงาย ผู้ตรวจวางมือซ้ายขนานกับหน้าท้องด้านขวาของผู้ป่วย แล้วใช้มือขวาของผู้ตรวจเคาะเบา ๆ ที่ท้องด้านซ้ายถ้ามีน้ าในช่องท้อง ผู้ตรวจจะรู้สึกถึงการสั่นสะเทือนที่ฝ่ามือซ้าย
การเคาะตับ
เคาะในแนวเส้นกลาง Midclavicular line โดยเริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อย ๆ เคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับ ซึ่งมีเสียงทึบ แล้วเคาะจากบริเวณหน้าอกซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อย ๆ เคาะต่ำลง
การฟัง
การใช้ Stethoscope
เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound) ปกติได้ยิน 6 – 12 ครั้ง/นาที(Hypoactive / Hyperactive / Normoactive /
-
การฟังเสียงในช่องท้องโดยใช้ Stethoscope ด้าน bell ฟังแต่ละครั้ง ควรฟังให้ทั่วทั้ง 4 Quadrants และฟังอย่ำงน้อย 3นาที
-