Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1…
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
กฎหมายวิชาชีพฯ
เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของความเป็นวิชาชีพ มีความ
จำเป็นต่อทุกวิชาชีพเพราะอาศัยหลักเกณฑ์ของกฎหมายควบคุมสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพให้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่วิชาชีพกำหนด
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์
การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ พยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน โดยการกระทำ ดังต่อไปนี้
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพการวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด
ทารกแรกเกิด และครอบครัว โดยกระทำดังต่อไปนี้
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์
3.การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.ทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพการพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผล
พนักงานเจ้าหน้าที่
ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ ปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้ มีอำนาจหน้าที่ดังนี้
1.ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต
2.ในการเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
3.ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา
นิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1.เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป ยกเว้น สิทธิที่บุคคลจริงจะมีได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส
2.นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ และนิติบุคคลนี้ถูกฟ้องล้มละลายได้
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล (มาตรา7)
อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล (มาตรา8)
รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
3.จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล
1.งบประมาณแผ่นดิน
4.รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตากฎหมาย
(หมวด2มาตรา11-13)
2.สมาชิกกิตติมศักดิ์
1.เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาการพยาบาลเห็นสมควรเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
2.จำนวนอายุ การเป็นผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
1.สมาชิกสามัญ
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
1.โรคจิต โรคประสาท
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ(มาตรา12)
การพ้นจากสภาพสมาชิกสามัญ(มาตรา13) มีดังนี้
1.ตาย
2.ลาออก
3.ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11(1)
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
2.สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตาที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการศึกษา
1.สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
-ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเอกชน ต้องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภาฯกำหนด
-กรณีปฏิบัติงานโรงพยาบาลขอรัฐ ครบ 2 ปี
2.หลัง 24 ธันวาคม 2540 (สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน)
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
1.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
2.ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
3.ใบอนุญาตหมดอายุ
ประเภทของใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1และ 2
1.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
ประเภทของคณะกรรมการฯ
กรรมการสภาฯ จากการแต่งตั้ง จำนวน 16 คน
3.กรรมการที่ปรึกษา จำนวนไม่เกิน 1 ใน 4 ของกรรมการ คือ จำนวนไม่เกิน8คน
1.กรรมการสภาฯ จากการเลือกตั้ง จำนวน 16 คน
สรุปประเด็นสำคัญ เรื่อง
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
1.นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการสภาโดยตำแหน่ง
2.ตัวแทนจากกระทรวงสาธารณสุขมีสัดส่วนมากที่สุด
3.ถ้านายกสภาฯเลือกเลขาธิการสภาจากสมาชิกสามัญ กรรมการ จะมีจำนวน 33 คน
4.การเลือกตั้งนายกสภาฯ เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
5.กรรมการสภาฯ เลือกคณะผู้บริหารฯ
6.นายกสภา เลือก เลขาธิการสภา รองเลขาธิการสภา ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
7.วาระของกรรมการ 4 ปี ตามวาระที่มาของกรรมการว่าแต่งตั้ง
8.นายกสภาฯถอดถอนเลขาธิการได้
กรรมการพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ
1.ขาดคุณสมบัติตามมาตรา13 ได้แก่ ตาย ลาออก
2.ขาดคุณสมบัติตามาตรา 18
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
3.ลาออก
การเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง
กรรมการว่างลง มากกว่าหนึ่งในสอง (16) คือ มากกว่า 8 คน ต้องจัดให้สมาชิกสามัญเลือกตั้งกรรมการขึ้นแทนภายใน 90 วัน
ถ้าอายุกรรมการเหลือต่ำกว่า 90 วัน ให้รอเลือกตั้งใหญ่พร้อมกัน
กรรมการว่างลง=หนึ่งในสองหรือน้อยกว่าของกรรมการจากการเลือกตั้ง (16)มากกว่าหรือเท่ากับ 8 เลือกสมาชิกสามัญขึ้นแทน
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภาฯ
2.เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
3.เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
1.ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
เลขาธิการสภา
2.ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
3.รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
1.ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
4.ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
5.เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.)
สภานายกพิเศษ
2.แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
3.ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆ(มาตรา 5)
1.รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา 5)
4.ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง
1.การออกข้อบังคับสภาฯ
2.การกำหนดงบประมาณของสภาฯ
3.การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพ
4.การวินิจฉัยชี้ขาด ขั้นลงโทษผู้ประกอบวิชาชีพ ขั้นพักใช้ และเพิกถอนใบอนุญาตฯ
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
1.1เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน (หนึ่งในสอง)
1.2เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะ
2.การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
2.1เรื่องทั่วไป ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด
2.2เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ คือ ไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
3.1สภานายกพิเศษ เห็นด้วย
3.2สภานายกพิเศษ ไม่เห็นชอบ
3.3การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องทำภายใน30วัน ใช้กรรมการสภาเต็มคณะลงมติด้วยเสียง 2/3
4.การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29 รหัสนักศึกษา 612001030