Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ, นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29…
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์ของการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
2.การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
3.การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
1.การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการสอบสวน การตัดสิน และโทษ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทำต่อตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้
พ้นจากความทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
2.2ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
2.3ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
2.1ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
4.สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน เมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสิน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุ และมีกำหนด 1ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำผิด
ประเด็นที่ 2 เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 10 มกราคม 2541 ดังนั้นอายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 9 มกราคม 2542
ประเด็นที่ 3 เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 พฤศจิกายน 2543 ดังนั้นอายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2543
ประเด็นที่ 1 เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 มกราคม 2542 ดังนั้นอายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542
การพิจารณาสอบสวน กฎหมายให้สิทธิคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการได้ โดยบุคคลต่อไปนี้
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
หรือพี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต (ไม่ใช่วันที่รับทราบคำสั่ง)
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
2.สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์
3.สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
1.สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์ปฏิบัติงานอยู่
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท (มีเฉพาะโทษปรับอย่างเดียว)
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้จากการตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ)
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ ประกอบด้วย ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ เพิกถอน
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม
(พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540)
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์และสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชีพฯพ.ศ.2528มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
3.ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสถาบันการศึกษาในประเทศไทย
1.ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ
ที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในแง่กฎหมาย เพื่อคุ้มครองสมาชิกและผู้รับบริการ
กฎหมายวิชาชีพฯ เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของความเป็นวิชาชีพ มีความจำเป็นต่อทุกวิชาชีพ เพราะอาศัยหลักเกณฑ์ของกฎหมายควบคุมสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพให้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่วิชาชีพกำหนดรวมทั้งเป็นการสร้างความเชื่อถือ ศรัทธาให้เกิดในกลุ่มผู้รับบริการ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เป็นกฎหมายวิชาชีพที่ทำให้เกิดองค์กรวิชาชีพที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล คือ สภาการพยาบาล เพื่อควบคุมดูแลผู้ประกอบวิชาชีพให้ปฏิบัติงานอย่างมีมาตรฐาน กำหนดความรู้ คุณสมบัติสมาชิกตลอดจนจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติพร้อมกำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29 รหัสนักศึกษา 612001030