Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
1 Family Centered Care/สิทธิเด็ก
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
มีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็กเกี่ยวกับสาเหตุการ
เจ็บป่วย
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการ
สัมพันธภาพเละความรู้สึกระหว่างเด็กป่วยเละสมาชิกในกรอบครัว
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
การติดต่อกับผู้ให้บริการแก่เด็กและครอบครัว
บทบาทของพยาบาลในการดูแลชครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ
ป้องกันภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นได้ละส ่งเสริมให้เด็กและครอบครัวดูแลการเจ็บป่วยขั้นต้นได้
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ประสานและส่งต่อกับพยาบาลในชุมชน
ส่งเสริมทางด้นจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัว
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
1.สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด
2.สิทธิในการพัฒนา
3.สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง
4.สิทธิในการมีส่วนร่วม
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
1.Separation Anxiety
ระยะประท้วง
เด็กจะร้องไห้เสียงดัง กรี๊ดร้องเรียกหาพ่อแม่
การดูแล ปลอบโยนอยู่ใกล้ชิด กอด โยกกล่อมเด็ก
ระยะหมดหวัง
เด็กร้องไห้น้อยลง กิจกรรมต่างๆลดลง เศร้าซึม
สนับสนุนให้บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
ระยะปฏิเสธ
เด็กจะมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นแต่ปฏิเสธพ่อแม่
การดูแล ให้เด็กมีของรักคุ้นเคยติดตัวไว้
Pain
เครื่องมือใช้ประเมิน
NIPS
สำหรับทารกแรกเกิดถึง 1 เดือน
FLACC
สำหรับเด็กอายุ 1เดือนถึง 3 ปี หรือเด็กไใ่รู้สึกตัว
CHEOPS
แบบประเมินความปวดเด็กอายุ 3-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
FACE scale
เด็กอายุ 3-8 ปีหรือผู้ใหญ่ที่บอกตัวเลขไม่ได้
Numeric rating scale
เด็กอายุมากว่า 8 ปี ให้คะแนนความเจ็บปวดได้
Behavior pain scale
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว/ใส่เครื่องช่วยหายใจ
3.Stress and coping
วัยทารก
สูญเสียการควบคุมจากกิจวัตรประจำวันเปลี่ยนแปลง
วัยหัดเดิน
สูญเสียความเป็นตัวเองสูญเสียการควบคุม
วันก่อนเรียน
ทำให้เด็กรู้สึกเหมือนโดนทำโทษ สูญเสียการควบคุม
วัยเรียน
กลัวถูกทอดทิ้ง สูญเสียการยอมรับจากเพื่อน
วัยรุ่น
ทุกข์จากการไม่เป็นอิสระ ท าให้เด็กพึ่งพาและลดความ
เป็นบุคคล มีผลให้สูญเสียการควบคุม
ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
ระยะตกใจและปฏิเสธ
ระยะโกรธ
ระยะต่อรอง
ระยะยอมรับ
ระยะซึมเศร้า
ความตาย
วัยทารก
ไม่รับรู้หรือมีคววามเข้าใจเกี่ยวกับความตาย
วัยหัดเดิน
เด็กจะมีความวิตกกังวลจากการพลัดพรากพ่อแม่
วัยก่อนเรียน
คิดว่าการตายเป็นการนอนหลับตายแล้ว ฟื้นได้
วัยเรียน
เด็กมีความคิดที่เกี่ยวกับความตายเป็นรูปธรรม โดยเข้าใจว่า
ความตายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และไม่สามารถฟื้น
วัยรุ่น
ความตายเป็นการจากไปอย่างถาวรและหลีกเลี่ยงไม่ได้ เด็กวัยนี้จะปฏิเสธความตาย
นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน 612901027
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3