Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ช็อก (Shock), hypovolemic-shock3-l, severe-trauma-and-traumatic-shock-14…
ช็อก (Shock)
อาการ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การป้องกันภาวะช็อก
-
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบถ้วน ถูกหลักโภชนาการ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงจากโรคหัวใจ
-
-
-
หากมีอาการถ่ายเหลวหรืออาเจียน ควรรับประทานน้ำเกลือแร่ชดเชยให้เพียงพอ แต่ในกรณีที่รับประทานไม่ได้ควรรีบไปพบแพทย์ โดยเฉพาะในเด็กและผู้สูงอายุ
-
หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อก และเกิดการบาดเจ็บบริเวณศรีษะ คอ และหลัง ควรหลีกเลี่ยงการเคลื่อนย้าย และในระหว่างนี้ไม่ควรให้รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ แม้ว่าผู้ป่วยรู้สึกกระหายน้ำหรือหิว
กรณีที่ผู้ป่วยอาเจียน ให้หันศีรษะผู้ป่วยหันไปด้านข้าง ยกเว้นในรายที่บาดเจ็บบริเวณคอหรือศีรษะ ให้พลิกทั้งตัวหันข้างแทน
กรณีไม่หมดสติให้ผู้ป่วยนอนหงายราบกับพื้น ยกขาให้สูงขึ้นจากพื้นประมาณ 12 นิ้ว เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญ หากสวมเสื้อผ้าที่รัดแน่นควรคลายเสื้อผ้าให้หลวม จากนั้นห่มผ้าหรือสวมเสื้อผ้าหนา ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่น เเละตรวจดูลมหายใจและการเต้นของหัวใจของผู้ป่วยเป็นระยะระหว่างรอนำส่งโรงพยาบาล
กรณีที่ผู้ป่วยหมดสติ ควรตรวจดูลมหายใจและสัญญาณการเต้นของหัวใจเป็นอันดับแรก หากพบว่าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้รีบทำCPRทันที
ลักษณะของ Shock
Cardiogenic shock
-
-
-
-
แน่นหน้าอก , หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Neurogenic shock
-
-
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ซีด อ่อนเพลีย อาเจียน จะเป็นลม ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย หายเร็วถี่ขึ้น
ความดันโลหิตต่ำ, ชีพจรเต้นช้า
-
-
-
นิยาม
ภาวะของร่างกายที่มีการไหลเวียนเลือดลดลงต่ำผิดปกติ ส่งผลให้การสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ในร่างกายไม่เพียงพอ ทำให้เซลล์และอวัยวะเสียหายจากการขาดเลือดที่เป็นตัวนำออกซิเจนและสารอาหาร เมื่อเกิดกับอวัยวะสำคัญและรักษาไม่ทันเวลาอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
ช็อค หมายถึง กลุ่มอาการที่เกิดจากการลดลงของระบบไหลเวียนโลหิตไปสู่อวัยวะส่วนปลาย ซึ่งจะก่อให้เกิดการเสียสมดุลระหว่างความต้องการออกซิเจนและการนำพาออกซิเจน การขาดออกซิเจนของอวัยวะต่างๆ เป็นเวลานานจะทำให้การทำงานของอวัยวะนั้นๆ เสื่อมลง และ อาจนำไปสู่การเสียหน้าที่ของอวัยวะดังกล่าวอย่างถาวรได้
ภาวะช็อก (shock) เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผลจากการลดลงของการไหลเวียนโลหิตสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนปลาย (inadequate tissue perfusion) ทำให้เนื้อเยื่อส่วนปลายได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอ ส่งผลให้เซลล์ขาดออกซิเจน เสียสมดุลระหว่างออกซิเจนที่ขนส่งไปที่เซลล์ (oxygen delivery) กับความต้องการใช้ออกซิเจนที่เซลล์ (oxygen consumption)
การตรวจวินิจฉัย
-
-
-
-