Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังช่องคลอด(Puerperal Infection) - Coggle Diagram
การติดเชื้อหลังช่องคลอด(Puerperal Infection)
การติดเชื้อแบคทีเรียของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ภายหลังคลอด มักเกิดในช่วง 28 วันหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุโดยตรง
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่
ก่อนแล้ว ซึ่งปกติไม่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
สาเหตุส่งเสริม
1.ภาวะทุพโภชนาการ
2.การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
3.การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่อง
คลอด (internal fetal heart monitoring)
4.ระยะเจ็บครรภ์และระยะคลอดยาวนาน
5.การทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการหรือ
การคลอดยาก
6.เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้องมีการแพร่
เชื้อเข้าไปโดยตรง
7.ทำการล้วงรก
การติดเชื้อเฉพาะที่
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะลำบาก
ไข้ต่ำกว่า 38.5 - 40 °C
ถ้ามีหนองข้างอยู่ในฝี เย็บ อาจมีอาการไข้สูงและหนาวสั่น
เกิดบริเวณแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด
ช่องคลอด และปากมดลูก
การติดเชื้อของมดลูก (metritis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดท้อง และหน้าท้องแข็งเกร็งกดเจ็บ บริเวณมดลูกมีหนอง และน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
อาการที่อาจพบเพิ่ม คือ หัวใจเต้นเร็ว มดลูกเข้าอู่ช้า
(Subinvolution)
เกิดขึ้นในระยะ 24 ถึง 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
เชื้อโรคกลุ่ม A Beta hemolytic streptococcus มารจะมีไข้
การพยาบาล
5 แนะนำมารดาเกี่ยวกับอาหาร
4 ดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบาย
3 สังเกตอาการแสดงอื่นๆ เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืดมากขึ้น
2 ให้ยาบรรเทาปวดตามแนวทางการรักษาของแพทย์
1.Fowler’s position
การติดเชื้อของแผล (Wound infection )
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม แดงร้อนของแผล
ขอบแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง
มีไข้และรู้สึกไม่สุขสบาย
พบเชื้อแบคทีเรียAerobic และ anaerobic
bacteria
มีน้ำลักษณะเป็นสีน้ำล้างเนื้อซึมออกจากแผล
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะชนิดกว้าง
ให้ยาแก้ปวด
ประคบแผลด้วยความร้อนหรือให้แช่ก้น
ตัดไหมระบายหนองออกแล้วเย็บซ่อมแผลใหม
แผลฝี เย็บแยก ให้ดูแลแผลจนไม่มีลักษณะของการติดเชื้อจึง
เย็บแผลใหม
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
septic pelvic thrombophletis
femoral thrombophletis
การรักษา
ให้ heparin
ในราย femoral thrombophletis ให้ยาปฏิชีวนะ ยาระงับ
ปวด
การพยาบาลสตรีติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตัวระหว่างการตั้งครรภ์ให้มี
สุขภาพแข็งแรง มารับบริการฝากครรภ์ตามนัด
2.ควรดูแลให้ผู้คลอดได้พักผ่อน และได้รับสารน้ำ
อย่างเพียงพอ
3.ควรผูกผ้าปิดปากปิด
จมูกและใช้อุปกรณ์ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
4.ระมัดระวังป้องกันการบาดเจ็บและชอกช้ำของ
ช่องทางคลอด
5.ทันทีหลังคลอด ควรเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน
และสิ่งอื่น ที่ปนเปื้อน
กระตุ้นให้ล้างมือบ่อยๆ
7.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกวิธี
8.กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ รับประทานอาหารที่มี
คุณค่าทางโภชนาการสูง
9.รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาด
การพยาบาลทั่วไป
1 แยกมารดาที่ติดเชื้อออกจากมารดาหลังคลอดทั่วไป
เพื่อป้องกันไม่ให้แพร่กระจายไปสู่ผู้อื่น
2 ประเมินสัญญาณชีพและสังเกตอาการ
3 ดูแลให้พักผ่อนอย่างเต็มที่
4.ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่มีพลังงานสูง และสารน้ำอย่างเพียงพอ
5.ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
6.ดูแลการได้รับยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวดลดไข้ ตามแผนการรักษาของแพทย์
7.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาลขณะมีการติดเชื้อหลังคลอด
การอักเสบที่บริเวณฝี เย็บและปากช่องคลอด
1.ชำระล้างบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝี เย็บด้วย
น ้ายาเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง รวมทั้งการเปลี่ยนผ้าอนามัยเมื่อ
เปียกชุ่ม
2.ให้ hot sitz bath ด้วยน้ำละลายด่างทับทิม วันละ
2 - 3 ครั้งๆ ละ 10 - 15 นาที และอบแผลฝี เย็บด้วย infra red
light วันละ 2 - 3 ครั้งๆ ละ 3 - 5 นาท
กรณีที่มีการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลูก
1.สังเกตการหดตัวรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก 8
ชั่วโมงถ้าพบว่ามดลูกหดตัวไม่ดี ต้องคลึงมดลูกเพื่อขับก้อน
เลือดและน้ำคาวปลา
2) แนะนำให้มารดานอนคว ่า ใช้หมอนรองบริเวณ
ท้องน้อย อย่างน้อยวันละ 2
ครั้งๆ ละ 30 นาที
3.จัดให้นอนท่า Foeler’s position
4.วัดสัญญาณชีพและสังเกตภาวะแทรกซ้อน
5.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีที่มีการอักเสบที่เยื่อบุช่องท้อง
1.จัดให้นอนท่า Fowler’s position
กรณีที่มีอาการท้องอืดและแน่นท้องมากอาจจะใช้
continuous gastric suction
3.กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวะนะ
แพทย์อาจเจาะเอาหนองออกทาง cul-de-sac หรือผ่าตัด
มดลูกเข้าอู่ช้า (Sub involution)
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ น้ำคาวปลาเป็นสีแดง มีกลิ่นเหม็น อุณหภูมิร่างกายสูง
และอาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง
การพยาบาลเพื่อป้ องกันมดลูกเข้าอู่ช้า
การทำคลอดรก ตรวจให้แน่ใจว่ารกคลอดครบ
ส่งเสริมให้น ้าคาวปลาไหลสะดวก
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน ้านมมารดา
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
หากไม่มีอาการกดเจ็บให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา หลังให้
แล้วประเมินขนาดของมดลูก
ถ้ามีอาการกดเจ็บ อุณหภูมิสูง และน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ให้สารน้ำทางหลอดเลือดด า ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีที่มีเศษรกค้าง จำเป็นต้องขูดมดลูกเพื่อเอาเศษรกออก
เต้านมอักเสบ (mastitis)
การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือขณะมีการอักเสบติดเชื้อ
ลดกรกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ
กรณีเต้านมอักเสบให้ทำรกดูดนมต่อไปได้ ถ้าเต้านมเป็นฝีอำจจะงดทำรก
ดูดน้ำนมข้ำงนั้นและบีบน้ำนมออก
ให้ยาปฏิชีวนะและยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา
สวมเสื้อชั้นในหรือพันผ้าเพื่อพยุงเต้านม (supporting binding)
ในรายที่แพทย์เปิดแผลเพื่อระบำยหนองออก ให้ทำความสะอาดแผลวันละ
2 ครั้ง
แนะนำการรักษาความสะอาดร่างกาย การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ร่างกาย
กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็ว