Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังช่องคลอด (Puerperal infection), นางสาวจรรย์อมล ยกย่อง …
การติดเชื้อหลังช่องคลอด (Puerperal infection)
การติดเชื้อแบคทีเรียของระบบอวัยวะสืบพันธุ์สตรีภายหลังคลอด มักเกิดในช่วง 28 วันหลังคลอด ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในช่วงหลัง
การมีไข้หลังคลอด (puerperal fever)
มีอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 38 ขึ้นไป ติดต่อกัน
อย่างน้อย 4 ครั้งต่อวันในช่วง 2 ถึง 10 วันแรก หลัง
คลอด ซึ่งไม่นับ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุส่งเสริม
1.ภาวะทุพโภชนาการ
ภาวะโลหิตจางตั้งแต่ตั้งครรภ์
ภาวะขาดน้ำหรือภาวะตกเลือดระหว่างการคลอด
ทำให้ร่างกายอ่อนแอ ความต้านทานต่ำเกิดการ
ติดเชื้อได้ง่าย
5.การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
โดยเฉพาะในรายที่ถุงน้ำแตกแล้ว
3.การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่อง
คลอด (internal fetal heart monitoring)
อาจมีการปนเปื้อนเมื่อใส่ electrode เข้าไป
2.ระยะเจ็บครรภ์และระยะคลอดยาวนาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง PROM > 24 hr. ซึ่งแบคทีเรียอาจ
ลุกลามเข้าไปในมดลูกขณะที่ทารกยังอยู่ในครรภ
4.การทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการหรือ
การคลอดยาก
ทำให้เนื้อเยื่อของช่องทางคลอดได้รับ
การกระทบกระเทือนมีการ
ฉีกขาด เป็นหนทางที่เชื้อโรคเข้าไปได้ง่าย
6.เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้องมีการแพร่
เชื้อเข้าไปโดยตรง
7.ทำการล้วงรกหรือมีการตรวจโพรงมดลูก
หลังคลอด
ในรายที่มีเศษรกหรือมีเลือดออกมาก
ผิดปกติ ทำให้เชื้อโรคเข้าไปขณะตรวจได
สาเหตุโดยตรง
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่
ก่อนแล้ว
แบคทีเรียจากนอกร่างกายซึ่งถูกน าเข้าสู่ร่างกายในระหว่างรอคลอดและระยะคลอด โดยผ่านทางการตรวจช่องคลอด
การติดเชื้อเฉพาะที่ : แผลฝี เย็บ ปากช่องคลอด
ช่องคลอด และปากมดลูก
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการปัสสาวะลำบาก
ไข้ต่ำกว่า 38.5 - 40 °C (104 °F)
การรักษา
ดูแลรักษาเหมือนแต่ศัลยกรรมทั่วไป ถอดไหมออก เปิด
แผลให้หนองระบายได้ดี ให้hot sitz baths และอบไฟ จะช่วยบรรเทา
อาการปวด
ในระยะเฉียบพลันของการติดเชื้อ ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
และยาระงับปวดตามแผนการรักษา
การติดเชื้อของมดลูก (metritis)
พบบ่อยที่สุด แบคทีเรียเฉพาะตัวที่เยื่อบุมดลูก(decidue) โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่รกเกาะ
เกิดขึ้น
ตั้งแต่ 2 - 3 ชั่วโมง ถึง 2 - 3 วันหลังคลอด
ลุกลามเข้าสู่ชั้นกล้ามเนื้อมดลูก (myometritis)
อาการและอาการแสดง
1)ที่สำคัญ คือ มีไข้ หนาวสั่น ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดท้อง และหน้าท้องแข็งเกร็ง กดเจ็บ บริเวณมดลูกมีหนองและน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
2) อาการที่อาจพบเพิ่ม คือ หัวใจเต้นเร็ว มดลูกเข้าอู่ช้า
(Subinvolution)
3) เกิดขึ้นในระยะ 24 ถึง 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
4) หากเชื้อโรคที่พบเป็ นกลุ่ม A Beta hemolytic streptococcus
น ้าคาวปลาจะมีปริมาณน้อย และไม่มีกลิ่นเหม็น
การรักษา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ เช่น ampicillin
โดยเริ่มให้ยา
ทางหลอดเลือดด า 4 - 8 กรัมต่อวัน
จนไม่มีไข้ 24 - 48 ชั่วโมง
แล้วเปลี่ยนเป็ นชนิดรับประทาน 4 - 5 วันและรักษาตามอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
Salphingitis
Oophoritis
Peritonitis
pelvic thrombophlebitis
การพยาบาล
1 Fowler’s position
2 ให้ยาบรรเทาปวดตามแนวทางการรักษาของแพทย์
3 สังเกตอาการแสดงอื่นๆ เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืดมากขึ้น
4 ดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบาย
5 แนะน ามารดาเกี่ยวกับอาหาร
การติดเชื้อของแผล (Wound infection )
มักเกิดขึ้นในระยะหลังคลอดเนื่องจาก
มีการฉีกขาดของผิวหนังและเยื่อบุผิวึ่งท าให้เชื้อแบคทีเรียผ่านเข้าไปสู่ร่างกายได้โดยเฉพาะแผลผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้อง
และแผลฝีเย็บ
อาการและอาการแสดง
1 มีอาการปวด บวม แดงร้อนของแผลที่อักเสบหรือมีแผลแยก
2 ขอบแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง
3 หากไม่ได้รับการรักษาจะมีไข้และรู้สึกไม่สุขสบาย
4 ถ้าส่งหนองตรวจจะพบทั้งเชื้อแบคทีเรียชนิด Aerobic และ anaerobic
bacteria
5 มีน ้าลักษณะเป็ นสีน ้าล้างเนื้อซึมออกจากแผล
การรักษา
1 ให้ยาปฏิชีวนะชนิดกว้าง
2 ให้ยาแก้ปวด เพราะมารดาจะปวดมาก
3 ประคบแผลด้วยความร้อนหรือให้แช่ก้น
4 ให้ตัดไหมระบายหนองออกแล้วเย็บซ่อมแผลใหม่ให้เรียบร้อย
5 ในกรณีแผลฝี เย็บแยก ให้ดูแลแผลจนไม่มีลักษณะของการติดเชื้อจึง
เย็บแผลใหม
การติดเชื้อลุกลามไปนอกมดลููก : กระจายตาม
หลอดเลือดดำ peritonitis
อาการและอาการแสดง
septic pelvic thrombophletis เป็นภาวะที่วินิจฉัยได้ยาก
ส่วนมากจะส่งไปในรายที่ไข้สูงลอยทั้งที่ให้ยาปฏิชีวนะอย่างเพียงพอ
ในรายที่เป็น femoral thrombophletis จะพบว่ามีขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน ้าตาล บวมมากขาจะเป็นสีขาว
การรักษา
ให้ heparin ถ้าตอบสนองได้ดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง
ในราย femoral thrombophletis ให้ยาปฏิชีวนะ ยาระงับ
ปวด
มดลูกเข้าอู่ช้า (Sub involution)
เป็นภาวะที่กระบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานาน หรือกระบวนการนั้นหยุดไปก่อนที่มดลูกจะกลับคืนสู่สภาพ
เดิมอย่างสมบูรณ
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ น้ำคาวปลาเป็ นสีแดง
(persistent red lochia) มีกลิ่นเหม็น (foul lochia) อุณหภูมิร่างกายสูง
และอาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง (late PPH)
การพยาบาลเพื่อป้องกันมดลูกเข้าอู่ช้า
การท าคลอดรก ตรวจให้แน่ใจว่ารกคลอดครบ
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก เช่น กระตุ้นให้ลุกจากเตียงโดยเร็ว ให้ลูกเดินบ่อยๆ ให้นอนคว่ำเป็นต้น
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
ถ้าไม่มีอาการกดเจ็บที่มดลูก น้ำคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น มีเลือดออก
น้อยให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษาหลังให้
แล้วประเมินขนาดของมดลูก
ถ้ามีอาการกดเจ็บ อุณหภูมิสูง และน ้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น ให้สงสัย
ว่าเยื่อบุมดลูกอักเสบ ควรส่งเพาะเชื้อเพื่อหาสาเหตุว่าเกิดจากเชื้อใดให้สารน ้าทางหลอดเลือดด า ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีที่มีเศษรกค้างจำเป็นต้องขูดมดลูกเพื่อเอาเศษรกออก
การติดเชื้อของหลอดเลือดดำบริเวณอุ้งเชิงกราน (Septic pelvic Thrombophlebitis)
สาเหตุ
1 มีการเพิ่มขึ้นของไฟบริโนเจน ซึ่งจะนำไปสู่การเกิดการแข็งตัวของเลือด
2 มีการขยายตัวของหลอดเลือดด าส่วนปลาย เนื่องจากถูกศีรษะทารกกดระหว่างการตั้งครรภ์และการคลอด
3 มารดาถูกจ ากัดกิจกรรมในขณะคลอด เช่น การขึ้นขาหยั่งเป็นเวลานานขณะคลอด เกิดการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณส่วนปลาย
เต้านมอักเสบ (mastitis)
เกิดจำกท่อน้ำนมอุดตัน โดยเต้ำนมคัดตึงที่ไม่ได้รับกำรแก้ไขและเกิดกำร
ติดเชื้อ ทำให้เต้านมบำงส่วนหรือทั้งเต้ำตึง เจ็บปวด บวมแดง ร้อน จะรู้สึก
ไม่สุขสบายมีไข้ได้
อาการและอาการแสดง
อำกำรเริ่มต้นคัดตึงเต้ำนมอย่ำงรุนแรง ต่อมำปวดเต้ำนม
มีไข้สูงอย่างรวดเร็ว
บริเวณเต้านมแดงร้อน แข็งตึง
ในรายที่มี
อาการลุกลามเกิดการอักเสบจะมีหนองออกจากเต้านม
การพยาบาล
1 ล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสเต้านม
2 ทำความสะอาดเต้านมและหัวนม เช็ดคราบที่ติดหัวนมออกให้หมดด้วยน้ำสะอาด หลีกเลี่ยงกำรใช้สบู่
3 สวมเสื้อพยุงเต้านมไว้ให้พอดี
4 ขณะดูดนมให้ปำกทำรกอยู่บนลำนนมให้มำกที่สุด ถ้ำจะให้ทำรกปล่อยหัวนมให้กดปลำยคำงทำรกให้เสียก่อน แล้วจึงค่อยดึงหัวนม
นางสาวจรรย์อมล ยกย่อง
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 602601010