Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infecition) - Coggle Diagram
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infecition)
ความหมาย
การติดเชื้อแบคทีเรียของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
สตรีภายหลังคลอด มักเกิดในช่วง 28 วันหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุโดยตรง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ก่อนแล้วซึ่งปกติไม่ทำให้เกิดพยาธิสภาพนอกจากร่างกายอ่อนแอหรือมีแผลบอบช้ำ หรืออาจเกิดจาก เชื้อแบคทีเรียจากนอกร่างกายซึ่งถูกนำเข้าสู่ร่างกายในระหว่างรอคลอดและระยะคลอดโดยผ่านทางการตรวจช่องคลอด
การบาดเจ็บจากการคลอดร่วมกับการเปิดของช่องทางคลอด ทำให้เกิดเชื้อโรคเข้าไปในเยื่อบุมดลูก เชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้และช่องทางคลอด
ชนิดของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ
Aerobic bacterial infection
Beta hemolytic streptococci group A
Staphylococcus aureus
E. coli
Protesus neia และ Klebsiella
Anaerobic bacterial infection
Clostridium welchii
พยาธิสรีรภาพ
หลังจากรกคลอด สมิงที่รกเกาะจากแผลที่ยกขึ้นเป็นสีแดงคล้ำ ผิวหน้าของแผลที่รกเกาะเป็นตุ่มเล็กๆซึ่งเกิดจากเส้นเลือดมากมาย ภายในเป็น อุดอยู่ บริเวณเหล่านี้เป็นแหล่งเพาะเชื้อที่ดีของเชื้อโรค ขณะเดียวกัน ทั้งหมดก็ไวต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย และในระหว่างการคลอดบริเวณปากมดลูก ช่องคลอด อวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกอาจจะบอบช้ าหรือมีรอยฉีกขาด ท าให้เกิดบาดแผลขึ้น
การติดเชื้อเฉพาะที่
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด และปากมดลูก
การติดเชื้อแผลฝีเย็บและปากช่องคลอด เมื่อแผลมีการอักเสบเกิดขึ้น เริ่มต้นด้วยขอบแผล เปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลแดง เนื้อเยื่อบุ ขอบแผลเน่า มีน้ าเหลืองไหลออกมาจากแผลแล้วกลายเป็นหนอง แผลแยกออก
การติดเชื้อที่ช่องคลอด อาจจะติดเชื้อโดยตรงหรือแพร่กระจายมาจากแผลฝีเย็บ เยื่อบุ ช่องคลอดจะบวมแดง เนื้อเน่าหลุดออก อาจเกิดหลอดน้ำเหลืองอักเสบและแพร่กระจายได้ แต่ส่วนมากเป็นเฉพาะที่
การติดเชื้อที่ปากมดลูก พบได้บ่อยเพราะปากมดลูกฉีกขาดง่าย
อาการและอาการแสดง
ของการติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด และปากมดลูก ซึ่งไม่ค่อยรุนแรง
มักมีอาการปัสสาวะลำบาก ร่วมด้วย ท่าระบายหนองได้ดีจะไม่มีอาการรุนแรง 38.5 - 40 °C (104 °F) แต่ถ้ามีหนองข้างอยู่ในฝีเย็บ หรือไข้อาจมีอาการไข้สูงและหนาวสั่น
การรักษา
ดูแลรักษาเหมือนแต่ศัลยกรรมทั่วไป ถอดไหมออก เปิดแผลให้หนองระบายได้ดีให้ hot sitz baths และอบไฟ จะช่วยบรรเทาอาการปวด ในระยะเฉียบพลันของการติดเชื้อ ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและ
ยาระงับปวดตามแผนการรักษา
การติดเชื้อของเยื่อบุมดลูกหรือการติดเชื้อของมดลูก
เป็นการติดเชื้อที่พบบ่อยที่สุดด้วยแบคทีเรียเฉพาะตัวที่เยื่อบุมดลูก (decidue)โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่รบเกาะ ซึ่งอาจเกิดขึ้นตั้งแต่ 2 -
3 ชั่วโมง ถึง 2 - 3 วันหลังคลอดอาการติดเชื้อจ าเพาะอยู่แต่บริเวณผิว็จะหลุดออกมาเองภายใน 2-3 วัน การติดเชื้อนี้เกือบทั้งหมดลุกลามเข้าสู่ชั้นกล้ามเนื้อมดลูก (myometritis)
อาการและอาการแสดง
ขึ้นกับความรุนแรงของการติดเชื้อ อาการมักจะเริ่มต้นใน 48 ชั่วโมงแรกหลัง
คลอด มีไข้สูงแบบฟันเลื่อยระหว่าง 38.5 - 40 °C ชีพจรเร็วสัมพันธ์กับอุณหภูมิ ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูกน้ำคาวปลาจะมีกลิ่นเหม็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเชื้อ
การรักษา
โดยทั่วไปแล้วรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ การใช้ยาปฏิชีวนะชนิด broad spectrum เช่น ampicillin โดยเริ่มให้ยาทางหลอดเลือดด า 4 - 8 กรัมต่อวัน จนไม่มีไข้ 24 - 48 ชั่วโมง แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดรับประทาน 4 - 5 วันและรักษาตามอาการ เช่น ให้ยาระงับปวด
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปยังหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
septic pelvic thrombophletis เป็นภาวะที่วินิจฉัยได้ยากส่วนมากจะ
ส่งไปในรายที่ไข้สูงลอยทั้งที่ให้ยาปฏิชีวนะอย่างเพียงพอ ในรายที่เป็น femoral thrombophletis จะพบว่ามีขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน้ำตาล บวมมากขาจะเป็นสีขาว
การรักษา
ให้ heparin ถ้าตอบสนองภัยดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง จะเป็นการยืนยันการวินิจฉัยและจะต้องให้ต่อไปจนครบ 10 วัน ควรให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง
ทำให้เกิด pelvic cellulitis (parametritis), pelvic
abscess, peritonit
ภาวะแทรกซ้อนของการติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนแก่มารดาและทารก เช่น การติดเชื้อสู่ทารก มดลูกเข้าอู่ช้า (subinvplution) การตกเลือด การเป็นหมัน โรคไตเรื้อรัง หลอดเลือดของปอดอุดตัน มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อ มีการจับตัวของลิ่มเลือด และท าให้เกิดการเสียชีวิตของสตรีหลังคลอดได้
การพยาบาลป้องกันติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตัวระหว่างการตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพแข็งแรง มารับบริการฝากครรภ์ตามนัดเพื่อได้รับการดูแลและการแก้ไขภาวะผิดปกติได้ทันท่วงที
ควรดูแลให้ผู้คลอดได้พักผ่อน และได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
กระตุ้นให้ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนและหลังเปลี่ยนผ้าอนามัยและการขับถ่าย
กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง
รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาด
การติดเชื้อของมดลูก ( Metritis)
สาเหตุ
มดลูกอักเสบมีสาเหตุจากเชื้อโรคที่อยู่บริเวณช่องคลอดและปากมดลูกโดยส่วนใหญ่การติดเชื้อดังกล่าวเกิดจากทั้ง Aerobic และ Anaerobicซึ่งเชื้อที่พบมากที่สุดคือ กลุ่มบี streptococcus enterococcus ,
escherichia coli, Kleb siella Pneumonia, Proteus , Bacteroides และ Prevotella
อาการและอาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดท้อง และหน้า
ท้องแข็งเกร็ง กดเจ็บ บริเวณมดลูกมีหนองและน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์กว้างทางหลอดเลือดดำยาที่นิยมใช้ได้แก่Clindamycin ร่วมกับGentamycin หรืออาจใช้ยาอื่นๆ
อาการทางคลินิกดีขึ้นภายใน 48 ถึง 72 ชั่วโมง ไม่จำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
ภาวะแทรกซ้อน
มารดามีบุตรยากหรือเป็นหมันได้ ถ้าเชื้อกระจายไปสู่เยื่อบุช่องท้องจะทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ( peritonitis)
การพยาบาล
จัด ให้มารดานอนในท่า Fowler’s position เพื่อส่งเสริมการไหลออกมาของน้ำคาวปลา
ให้ยาบรรเทาปวดตามแนวทางการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการแสดงอื่นๆ เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืดมากขึ้น ลำไส้ไม่มีเสียงการทำงานและปวดท้องรุนแรงมากขึ้น
การติดเชื้อของแผล (Wound infection )
สาเหตุ
มีรูปร่างอ้วน
เป็นโรคเบาหวาน
ใช้ยาสเตียรอยด์
มีภูมิต้านทานต่ำ
มีภาวะซีด
มีก้อนเลือดคั่งที
มีการติดเชื้อของเยื่ออุ้มเด็ก
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวด บวม แดงร้อนของแผลที่อักเสบหรือมีแผลแยก
ของแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง
หากไม่ได้รับการรักษาจะมีไข้และรู้สึกไม่สุขสบาย
ถ้าส่งหนองตรวจจะพบทั้งเชื้อแบคทีเรียชนิด Aerobic และ anaerobic bacteria
มีน้ำลักษณะเป็นสีน้ำล้างเนื้อซึมออกจากแผล
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะชนิดกว้าง
ให้ยาแก้ปวดซึ่งมักจ าเป็นต้องให้เพระมารดาจะปวดมาก
ประคบแผลด้วยความร้อนหรือให้แช่ก้น เพื่อความสุขสบายและส่งเสริมการหายของแผล จะช่วยให้มีการไหลเวียนของเลือดบริเวณนั้นดีขึ้น
ในกรณีแผลฝีเย็บแยกให้ดูแลแผลจนไม่มีลักษณะของการติดเชื้อจึงเย็บแผลใหม