Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การติดเชื้อหลังคลอด, น.ส.ปิยะมาศ อนุรักษ์ เลขที่ 64 รหัสนักศึกษา…
บทที่ 8 การติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infecition)
มักเกิดในช่วง 28 วันหลังคลอด
การมีไข้หลังคลอด (puerperal fever)
มีอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 38 ขึ้นไป
ติดต่อกันอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน ในช่วง 2 ถึง 10 วันแรกหลังคลอด
:forbidden:ซึ่งไม่นับ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สาเหตุ
1.โดยตรง
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
ไม่ทำให้เกิดพยาธิสภาพนอกจากร่างกายอ่อนแอหรือมีแผลบอบช้า
ส่งเสริม
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหิตจางตั้งแต่ตั้งครรภ์ ภาวะขาดน้ำหรือภาวะตกเลือดระหว่างการคลอด
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่องคลอด
การคลอดยาก
ทำการล้วงรกหรือมีการตรวจโรงมดลูกหลังคลอด
แบ่ง 2 ชนิด
การติดเชื้อเฉพาะที่ การติดเชื้อมักจำกัดอยู่เฉพาะตำแหน่งที่เป็นเท่านั้น
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด และปากมดลูก
:check:การติดเชื้อของมดลูก(metritis)
พบบ่อยสุด เกิดช่วง 24 ซม.เเรกหลังคลอด
อาการ :มีไข้, กดเจ็บตำเเหน่งท้องน้อย มดลูก, น้ำคาวปลาเหม็น
beta-hemolytic steptococcus น้ำคาวปลาไม่มีกลิ่นและมีปริมาณน้อย
มดลูกเข้าอู่ช้า
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ampicillin โดยเริ่มให้ยาทางหลอดเลือดดา 4 - 8 กรัมต่อวัน จนไม่มีไข้ 24 - 48 ชั่วโมง
การพยาบาล นอนท่า Fowler' s position
:check:การติดเชื้อของแผล (Wound infection)
มักเกิดขึ้นในระยะหลังคลอดเนื่องจากมีการฉีกขาดของผิวหนังและเยื่อบุผิว
อาการ: ปวด บวม แดงร้อนของแผลที่อักเสบหรือมีแผลแยก ขอบแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง มีน้าลักษณะเป็นสีน้ำล้างเนื้อซึมออกจากแผล :warning:
การติดเชื้อลุกลามไปนอกมดลูก แพร่กระจาย 3 ทาง
:green_cross:การแพร่กระจายไปหลอดเลือดดำ ทำให้เกิด pelvic thrombophletis, femoral thrombophletis, pyemia
septic pelvic thrombophletis ไข้สูงลอย
femoral thrombophletis ขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน้ำตาล บวมมากขาจะเป็นสีขาว :explode:ให้นอนยกขาสูง ห้ามเดินจนกว่าอุณหภูมิ จะลดลงมาแล้ว 1สัปดาห์
รักษา :ให้ heparin ถ้าตอบสนองภัยดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง
มดลูกเข้าอู่ช้า (Sub involution)
กระบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานาน 1 ปี
อาการ
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ
น้ำคาวปลาเป็นสีแดง (persistent red lochia)
มีกลิ่นเหม็น (foul lochia) อุณหภูมิร่างกายสูง
การพยาบาล
ป้องกัน
การทำคลอดรก ตรวจให้แน่ใจว่ารกคลอดครบ
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก เช่น กระตุ้นให้ลุกจากเตียงโดยเร็ว ให้ลูกเดินบ่อยๆ ให้นอนคว่ำ เป็นต้น
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา
เมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
ถ้ามีอาการกดเจ็บ อุณหภูมิสูง และน้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น :warning:เยื่อบุมดลูกอักเสบ
กรณีที่มีเศษรกค้าง จำเป็นต้องขูดมดลูกเพื่อเอาเศษรกออก
ถ้าไม่มีอาการกดเจ็บที่มดลูก น้าคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การติดเชื้้อของหลอดเลือดดำบริเวณอุ้งเชิงกราน (Septic pelvic Thrombophlebitis)
มักเกิดขึ้นในวันที่ 14-15 หลังคลอด
พบบ่อยในมารดาที่มีการติดเชื้อของแผลตำแหน่งที่รกเกาะก่อน แล้วกระจายลุกลามไปที่หลอดเลือดบริเวณรังไข่ มดลูก หรือหลอดเลือดบริเวณท้องน้อย (Hypogastric vein
ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน (Thromboembolism)
1.การอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณผิว (SVT)
บริเวณ Saphenous vein
เริ่มมีอาการแสดงวันที่ 3-4 หลังคลอด
มีประวัติเส้นเลือดดำโป่งพอง (Vrincosities)
มีอาการร้อนและแดงเฉพาะที่
ประคบด้วยความร้อน
สวมถุงน่องที่เป็นผ้ายืด
การอุดตันของหลอดเลือดดำชั้นลึก (DVT)
เกิดบริเวณ Femoral vein, pelvic vein
เริ่มอาการ 10 หลังคลอด มีไข้หนาวสั่น ซีด เย็น ขาบวม หรือเรียกว่า Milk leg
มีประวัติการเกิดความผิดปกติของลิ่มเลือด (Thrombosis)
Homan’s sign ให้ผลบวก
เจาะเลือดเพื่อตรวจหา PT , PTT
ใช้ยาทางหลอดเลือดดำ เช่น Heparin Warfarin
สาเหตุ :มีการเพิ่มขึ้นของไฟบริโนเจน ซึ่งจะนำไปสู่การเกิดการแข็งตัวของเลือด
เต้านมอักเสบ (mastitis)
เกิดจากท่อน้ำนมอุดตัน โดยเต้านมคัดตึงที่ไม่ได้รับการแก้ไขและเกิดการติดเชื้อ ทาให้เต้านมบางส่วนหรือทั้งเต้าตึง เจ็บปวด บวมแดง ร้อน
เต้านมเป็นฝี (breast abscess) เกิดจากเต้านมอักเสบที่ไม่ได้รับกำรรักษา หรือเกิดจำกหัวนมแตก
อาการ :ปวดเต้านม มีไข้สูงอย่ำงรวดเร็ว อาจสูงถึง 38.3 -40°C บริเวณเต้านมแดงร้อน แข็งตึง ขยายใหญ่ กดเจ็บ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ มีอาการหนาวสั่น
การพยาบาล : พยายามให้ลูกดูดนมจากเต้าทุก 2-3 ซม. ทั้ง 2 ข้าง
ขณะติดเชื้อ งดทารกดูดนม +ให้บีบน้ำนมออก
น.ส.ปิยะมาศ อนุรักษ์ เลขที่ 64 รหัสนักศึกษา 602601065