Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังคลอด tnews_1544766515_8806 - Coggle Diagram
การติดเชื้อหลังคลอด
ความหมาย
การติดเชื้อของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายหลังคลอด มักเกิดในช่วง 28 วันแรกหลังคลอด
การมีไข้หลังคลอด (puerperal fever)
อุณภูมิตั้งเเต่ 38 ขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน ในช่วง 2-10 วันเเรกหลังคลอด ไม่นับ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุโดยตรง
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ปกติไม่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ แต่เมื่อร่างกายอ่อนแอจึงมีอาการเกิดขึ้น
สาเหตุส่งเสริม
ภาวะทุพโภชนาการ
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่อง
คลอด (internal fetal heart monitoring)
ระยะเจ็บครรภ์และระยะคลอดยาวนาน
การทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการหรือ
การคลอดยาก
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้องมีการแพร่
เชื้อเข้าไปโดยตรง
ทำการล้วงรก
การติดเชื้อเฉพาะที่
การติดเชื้อของมดลูก (metritis)
พบบ่อยที่สุด
แบคทีเรียเฉพาะตัวที่เยื่อบุมดลูก
(decidue) โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่รกเกาะ
อาจเกิดขึ้น
ตั้งแต่ 2 - 3 ชั่วโมง ถึง 2 - 3 วันหลังคลอด
การติดเชื้อเกือบทั้งหมดลุกลามเข้าสู่ชั้นกล้ามเนื้อมดลูก (myometritis)
อาการ
มีไข้
หนาวสั่น
ครั่นเนื้อครั่นตัว
เบื่ออาหาร
ปวดท้อง
หย้าท้องเเข็งเกร็ง กดเจ็บ
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การรักษา
โดยทั่วไปแล้วรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ เช่น ampicillin
ภาวะแทรกซ้อน
Salphingitis
Oophoritis
Peritonitis
pelvic thrombophlebitis
การพยาบาล
Fowler’s position
ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
ดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบาย
แนะนำมารดาเกี่ยวกับอาหาร
การติดเชื้อของแผล (Wound infection )
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม แดง ร้อน ขอบแผลแยก
ขอบแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง
มีน้ำลักษณะเป็นสีน้ำล้างเนื้อซึมออกจากแผล
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาแก้ปวด
ประคบแผลด้วยความร้อนหรือให้แช่ก้น
ให้ตัดไหมระบายหนองออกแล้วเย็บซ่อมแผลใหม่ให้เรียบร้อย
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
อาการและอาการแสดง
septic pelvic thrombophletis
ไข้สูงลอยทั้งที่ให้ยาปฏิชีวนะอย่าง
เพียงพอ
มักเกิดขึ้นวันที่ 14-15 หลังคลอด
femoral thrombophletis
ขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อบขาเป็นสีน้ำตาล ถ้าบวมมากขาเป็นสีขาว
การรักษา
ให้ heparin ถ้าตอบสนองได้ดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง
ในราย femoral thrombophletis ให้ยาปฏิชีวนะ ยาระงับ
ปวด
การพยาบาลเฉพาะ
กรณีที่มีการอักเสบที่บริเวณฝี เย็บและปากช่องคลอด
ชำระล้างบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝีเย็บ
ให้ hot sitz bath ด้วยน ้าลายด่างทับทิม วันละ
2 - 3 ครั้งๆ ละ 10 - 15 นาท
อบแผลฝี เย็บด้วย infra red
light วันละ 2 - 3 ครั้งๆ ละ 3 - 5 นาท
กรณีที่มีการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลูก
ถ้าพบว่ามดลูกหดตัวไม่ดี ต้องคลึงมดลูกเพื่อขับก้อน
เลือดและน้ำคาวปลาที่คั่งค้างออกให้หมด
แนะนำมารดานอนคว่ำ ใช้หมอนรองใต้ท้องน้อย เพื่อให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที
จัดให้นอนท่า Fowler’s position
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีที่มีการอักเสบที่เยื่อบุช่องท้อง
จัดให้นอนท่า Fowler’s position
กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวะนะ
แพทย์อาจเจาะเอาหนองออกทาง cul-de-sac
มดลูกเข้าอู่ช้า (Sub involution)
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ
น้ำคาวปลาเป็นสีแดง มีกลิ่นเหม็น
อุณหภูมิร่างกายสูง
และอาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง (late PPH)
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
ถ้าไม่มีอาการกดเจ็บที่มดลูก น ้าคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น มีเลือดออกน้อย ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
ถ้ามีอาการกดเจ็บ อุณหภูมิสูง และน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ให้สงสัย
ว่าเยื่อบุมดลูกอักเสบ ควรส่งเพาะเชื้อ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน
การอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณผิว (SVT)
มักเกิดขึ้นกับหลอดเลือด Saphenous vein
มีอาการร้อนและแดงเฉพาะที่หลอดเลือดที่มี
ความผิดปกติเท่านั้น
การพยาบาล
ให้นอนพักยกเท้าสูงกว่าระดับ
หัวใจ
สวมถุงน่องที่เป็นผ้ายืด
ประคบด้วยความร้อน
การอุดตันของหลอดเลือดดำชั้นลึก (DVT)
มักเกิดขึ้นกับหลอดเลือดำ Femoralvein, pelvic
vein
มีไข้หนำวสั่น ซีด เย็น ขาบวมหรือเรียกว่ำ Milk leg
ผลตรวจ Homan’s signให้ผลบวก
การพยาบาล
จำกัดการเคลื่อนไหวโดยนอนพักบนเตียงโดยยก
เท้าสูงกว่าระดับหัวใจ
ใช้คามร้อนชื้นประคบ (Moist heat)
ใช้าทางหลอดเลือดดำ เช่น Heparin Warfarin
เต้านมอักเสบ (mastitis)
เกิดจากท่อน้ำนมอุดตัน
ทำให้เต้านมางส่วนหรือทั้งเต้าตึง เจ็บปวด บวมแดง ร้อน
มีไข้สูง มากกว่า 38
การพยาบาล
ล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสเต้านม
เช็ดคราบที่ติดหัวนมออกให้หมดด้วยน้ำ
สะอาด หลีกเลี่ยงการใช้สบู่หรือสำรอื่นที่ทำให้หัวนมแห้ง
สวมเสื้อพยุงเต้านมไว้ให้พอดี
ขณะดูดนมให้ปากทารกอยู่บนลานนมให้มากที่สุด