Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังคลอด - Coggle Diagram
การติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อเฉพาะที่
ภาวะแทรกซ้อน
Salphingitis
Oophoritis
• Peritonitis
• pelvic thrombophlebitis
การติดเชื้อของมดลูก (metritis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดท้อง และหน้าท้องแข็งเกร็ง กดเจ็บ บริเวณมดลูกมีหนองและน้ำคาวปลามีเหม็น
2.อาการที่อาจพบเพิ่ม คือ หัวใจเต้นเร็ว
มดลูกเข้าอู่ช้า(Subinvolution)
3.เกิดขึ้นในระยะ 24 ถึง 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
4.หากเชื้อโรคที่พบเป็นกลุ่ม A Beta hemolytic streptococcus น้ำคาวปลาจะมีปริมาณน้อย ไม่มีกลิ่นเหม็น และไม่มีอาการอย่างอื่นนอกจากไข้
การรักษา
ให้ยาระงับปวด การติดเชื้อหลังคลอดส่วนมากตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและรักษาแบบประคับประคอง
การใช้ยาปฏิชีวนะชนิด broad spectrum
ในรายที่มีเศษรกลูกค้างอยู่จะมีเนื้อตายเกิดขึ้น
และเกิดเป็นฝีหนองซึ่งยาเข้าไม่ถึง
ขูดมดลูก
การพยาบาล
1.Fowler’s position
2.ให้ยาบรรเทาปวดตามแนวทางการรักษาของแพทย์
3.สังเกตอาการแสดงอื่นๆ เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืดมากขึ้น
4.ดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบาย
5.แนะนeมารดาเกี่ยวกับอาหาร
การติดเชื้อของแผล
(Wound infection )
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวด บวม แดงร้อนของแผลที่อักเสบหรือมีแผลแยก
2.ขอบแผลนูนขึ้นมาซึ่งข้างในมักมีหนอง
3 .หากไม่ได้รับการรักษาจะมีไข้และรู้สึกไม่สุขสบาย
4 .ถ้าส่งหนองตรวจจะพบทั้งเชื้อแบคทีเรียชนิด
Aerobic และ anaerobicbacteria
5.มีน ้าลักษณะเป็ นสีน ้าล้างเนื้อซึมออกจากแผล
การักษา
1.ให้ยาปฏิชีวนะชนิดกว้าง
2.ให้ยาแก้ปวด เพราะมารดาจะปวดมาก
3 .ประคบแผลด้วยความร้อนหรือให้แช่ก้น
4.ให้ตัดไหมระบายหนองออกแล้วเย็บซ่อมแผลใหม่ให้เรียบร้อย
ในกรณีแผลฝี เย็บแยก ให้ดูแลแผลจนไม่มีลักษณะของการติดเชื้อจึงเย็บแผลใหม่
การมีไข้หลังคลอด
(puerperal fever)
T ตั้งแต่ 38 องศา ขึ้นไป ติดต่อกัน
อย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน
ในช่วง 2 ถึง 10 วันแรกหลังคลอด
สาเหตุ
เกิดจากการเชื้อแบคทีเรีย ที่เข้าสู่ร่างกายระหว่างรอคลอดและระยะคลอด
ภาวะทุพโภชนาการ
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่องคลอด
ระยะเจ็บครรภ์และระยะคลอดยาวนาน
การท าคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการหรือการคลอดยาก
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้องมีการแพร่เชื้อเข้าไปโดยตรง
การล้วงรกหรือมีการตรวจโพรงมดลูกหลังคลอด
การพยาบาลสตรีติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
1.แนะนำการปฏิบัติตัวระหว่างการตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพแข็งแรง มารับบริการฝากครรภ์ตามนัด
2.ควรดูแลให้ผู้คลอดได้พักผ่อน
และได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
บุคลากรสุขภาพในช่องคลอดควรผูกผ้าปิ ดปากปิดจมูกและใช้อุปกรณ์ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
4.ระมัดระวังป้องกันการบาดเจ็บและชอกช้ำ
ของช่องทางคลอด
5.ทันทีหลังคลอด ควรเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน
และสิ่งอื่น ที่ปนเปื้อนเลือด ปัสสาวะ หรืออุจจาระ
6.กระตุ้นให้ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนและ
หลังเปลี่ยนผ้าอนามัยและการขับถ่าย
7.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกวิธี
ป้องกันการนำเชื้อ E.coli จากทวารหนักไปอู่แท้ฝี เย็บหรือเข้าไปในช่องคลอด
8.กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ รับประทานอาหารที่มี
คุณค่าทางโภชนาการสูง
9.รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาด
การพยาบาลขณะมีการติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาลทั่วไป
1) แยกมารดาที่ติดเชื้อออกจากมารดาหลังคลอดทั่วไป
2) ประเมินสัญญาณชีพและสังเกตอาการ
3) ดูแลให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ดูแลความสุขสบายและ
เช็ดตัวเพื่อลดไข้
4) ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่มีพลังงานสูง วิตามินและ
โปรตีน และสารน ้าอย่างเพียงพอ
5) ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
6) ดูแลการได้รับยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวดลดไข้และยา
อื่นๆ ตามแผนการรักษาของแพทย์
7) ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อช่วยใน
การวินิจฉัยโรคและการรักษาพยาบาล
การพยาบาลเฉพาะ
กรณีที่มีการอักเสบที่บริเวณฝี
เย็บและปากช่องคลอด
1) ชำระล้างบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝี เย็บด้วยน ้ายาเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และเน้นใช้สบู่และน้ำตาล้างภายหลังการขับถ่ายทุกครั้งรวมทั้งการเปลี่ยนผ้าอนามัยเมื่อ
เปียกชุ่ม จะช่วยป้ องกันการติดเชื้อได้
2) ให้ hot sitz bath ด้วยน ้าลายด่างทับทิม วันละ2 - 3 ครั้งๆ ละ 10 - 15 นาที และอบแผลฝี เย็บด้วย infra redlight วันละ 2 - 3 ครั้งๆ ละ 3 - 5 นาที
กรณีที่มีการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลูก
1) สังเกตการหดตัวรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก
8 ชั่วโมง ถ้าพบว่ามดลูกหดตัวไม่ดี ต้องคลึงมดลูกเพื่อขับก้อนเลือดและน้ำคาวปลาที่คั่งค้างออกให้หมด
2) แนะนำให้มารดานอนคว่ำใช้หมอนรองบริเวณ
ท้องน้อย เพื่อให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก อย่างน้อยวันละ 2ครั้งๆ ละ 30 นาที
3) จัดให้นอนท่า Foeler’s position เพื่อส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลา
4) ควรวัดสัญญาณชีพและสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการขูดมดลูก
5) ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีที่มีการอักเสบที่เยื่อบุช่องท้อง
1) จัดให้นอนท่า Fowler’s position
2) กรณีที่มีอาการท้องอืดและแน่นท้องมากอาจจะใช้continuous gastric suction เพื่อดูดเอา gastric content สังเกตลักษณะและปริมาณของ gastric content
3 )กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวะนะ
การติดเชื้อลุกลามไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปตามเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
ขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน้ำตาล บวมมากขาจะเป็นสีขาว
การรักษา
ให้ heparin ถ้าตอบสนองภัยดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง
ให้ยาปฏิชีวนะ
ผ่าตัดทางหน้าท้องในราย femoral thrombophletis
ให้นอนยกขา
สูง ห้ามเดินจนกว่าอุณหภูมิ จะลดลงมาแล้ว 1 สัปดาห์