Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อ, นางสาวกนกวรรณ จันทร์น้อย เลขที่1 รหัส 612501001 :<3: -…
โรคติดต่อ
-
-
-
MERS-CoV
ระยะฟักตัว
ตั้งแต่ 2 – 14 วัน ดังนั้นหากผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ไอ หอบ หายใจเร็ว และภายใน 14 วันก่อนหน้ามีประวัติเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค
อาการ
ไข้สูง อาการไอ หายใจหอบมากกว่า 28 ครั้ง Oxygen saturation น้อยกว่า 90 และอาจเกิดภาวะปอดอักเสบ ไตวายทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรุนแรง (Severe Acute Respiratory Distress Syndrome :ARDS) จนทำให้เสียชีวิตในที่สุด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลเอกซเรย์ ปอด (Chest imaging (e.g. X-ray or CT scan): ลักษณะปอดอักเสบอาจพบภาพฉายรังสีไม่แตกต่างจากภาวะปอดอักเสบจากโรคอื่น
ในการตรวจหาเชื้อ MERS-CoV พบว่าการตรวจจากเสมหะให้ความไวในการตรวจพบเชื้อสูงกว่าการเก็บตัวอย่างจาก Nasopharyngeal Aspiration reverse-transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR)
การรักษา
-
-
3.การรักษาตามอาการ ให้ supplemental oxygen therapyโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ SpO2 < ร้อยละ 90 เริ่มโดย การจากให้อ็อกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที และปรับขนาดตามอาการของผู้ป่วย จนระดับ SpO2 ≥ ร้อยละ 90 ในคนทั่วไป และ SpO2 ≥ ร้อยละ 92-95 ในหญิงตั้งครรภ์
การป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลัน
- ควรล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและสบู่ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย หรือสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย รวมทั้งก่อนรับประทานอาหาร และหลังขับถ่าย
- หลีกเลี่ยง การเข้าไปในพื้นที่ แออัด หรือที่ สาธารณะที่มีคนอยู่จำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
- แนะนำให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอหรือจาม
- ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
Hepatitis
-
พยาธิสภาพ
การอักเสบของ cell ตับ จะมีลักษณะ huperpasia ของ Kupffer cell ร่วมกับมีการคั่งของน้ำดี และเกิด necrosis ตามมา
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
- Prodomal Stage : 3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง อาการสำคัญคือเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ อาจมีปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือกดเจ็บ ในระยะท้ายๆ มีปัสสาวะสีโคล่า เนื่องจากมี birirubin สูง และอุจจาระซีด ใน HAV มีอาการรุนแรงน้อยกว่า HBV
- Icteric Stage : ระยะตา ตัวเหลือง นาน 1 – 4 สัปดาห์ อาการต่างๆ ในระยะแรกจะหายไป แต่มีอาการตัว ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต
- Recovery Period : ระยะพักฟื้น ใช้เวลา 3 – 4 เดือน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น และหายเป็นปกติ ใช้เวลา 6 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้นอาจมีภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
- ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย และถ้ารุนแรงมากจะทำให้เกิดภาวะตับวายได้
- สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนเต็มที่ งดการทำกิจกรรมใดๆ
- ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด
- บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน โดยจัดสิ่งแวดล้อมและอาหารที่ไม่กระตุ้นความรู้สึกอยากอาเจียน ถ้ามีอาการรุนแรงมาก ดูแลการได้รับยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
- การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดตามแผนการรักษา
- ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด และสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
- การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ เช่น การฉีดวัคซีนตับอักเสบ การระมัดระวังเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและการร่วมเพศ และการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
-
Covid-19
ต้นกำเนิดเชื้อ มีหลักฐานจากการถอดรหัสพันธุกรรมพบว่า SARS-CoV-2 มีต้นกำเนิดมาจาก “ค้างคาวมงกุฎเทาแดง”
-
อาการ
ไอ จาม น้ำมูกไหล หายใจหอบเหนื่อย หายใจลำบาก เจ็บคอ อุจจาระร่วง ไข้ อ่อนเพลีย เม็ดเลือดขาวต่ำลง การทำงานของไตลดลง
การรักษา
- Confirmed case ไม่มีอาการ
- แนะนำให้นอนโรงพยาบาล 2-7 วัน เมื่อไม่มีภาวะแทรกซ้อน พิจารณาให้ไปพักต่อที่โรงพยาบาลเฉพาะอย่างน้อย 14 วัน
- Confirmed case with mild symptoms and no risk factors
- Confirmed case with mild symptoms and risk factors
- Confirmed case with Pneumonia หรือถ้าเอกซเรย์ปอดปกติ แต่มีอาการหรืออาการแสดง เข้าได้กับ Pneumonia และ SpO2 ที่ room air น้อยกว่า 95%
-