Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวพรชิตา เครือคง…
บทที่ 1
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
01 Family Centered Care/สิทธิเด็ก
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
(Family Centered Care)
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
บิดามารดาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็ก
เกี่ยวกับสาเหตุการเจ็บป่วยการได้รับการดูแลเละการรักษา
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของเด็กในแต่ละวัย
สัมพันธภาพเละความรู้สึกระหว่างเด็กป่วยเละสมาชิกในกรอบครัว
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
การติดต่อกับผู้ให้บริการแก่เด็กและครอบครัว
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลผู้ดูแลเด็กป่วย ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาให้ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางด้นร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคมของเด็กรวมทั้งการดูแลสุขภาพการเจ็บป่วยของเด็กเเต่ละวัย
พยาบาลให้การดูแลเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันความผิดปกติ ส่งเสริมการปรับตัวของเด็กกับพี่น้องบิดามารดาและครอบครัว ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งส่งเสริมให้เด็กใช้ชีวิตด้วยการใช้อุปกรณ์ในการช่วยเหลือขณะมีการเจ็บป่วยในภาวะวิกฤตและระยะเรื้อรังอย่างปกติสุข
บทบาทของพยาบาลในการดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ดังนี้
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ รวมทั้งระบบของ
ครอบครัว มีการวางแผนการพยาบาล โดยใช้กระบวนการพยาบาลมาใช้
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ส่งเสริมทางด้นจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะ
วิกฤตได้
สิทธิเด็ก
บุคคลซึ่งมีอายุต่ ากว่า 18 ปีบริบรูณ์แต่
ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กมีดังนี้
1.สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด (Right of Survival)
2.สิทธิในการพัฒนา (Right of Development)
3.สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection)
4.สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation)
02 ระยะเฉียบพลัน
แลระยะวิกฤติ
(1)Separation anxiety
ระยะประท้วง
เด็กจะร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้อง
ให้เด็กมีของรักหรือของคุ้นเคยไว้ติดตัว หรือมอบของเล่นประจำตัว เพื่อให้เด็กเกิดความมั่นใจว่าบิดามารดาจะต้องกลับมาหา
เมื่อบิดามารดาจะกลับบ้านจะต้องบอกลาเด็กเสมอ ไม่ควรหลอกเด็กหรือแอบหนี
กลับ
ระยะหมดหวัง
เศร้าซึม แยกตัว เฉยเมย
ปลอบโยน อยู่ใกล้ชิต กอด โยกกล่อมเด็ก
ระยะปฏิเสธ
แสดงการปฏิเสธบิดามารดา
เด็กจะสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
สนับสนุนให้บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
(3)Stress and coping
การจัดการกับความเครียด (Coping)
โดยให้กำลังใจเด็กและพ่อแม่ อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เด็กเป็นอยู่
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กป่วย
สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรมการพยาบาล
(2)Pain
วัยเรียน
ช่วยโดย อธิบายทำความเข้าใจ – อยู่คุยขณะทำหัคถการ
วัยทารก
ช่วยเหลือโดยอุ้ม-สัมผัส-ทำ-หัตถการ
วัยเตาะแตะและวัย
ก่อนเรียน
ช่วยโดย เล่นบทบาทสมมุติ -
ครอบครัวมีส่วนร่วมในการทำหัตถการ
วัยรุ่น
ช่วยโดย อธิบายเป็นเหตุผลแบบผู้ใหญ่
เครื่องมือใช้ประเมิน
NIPS
FLACC
CHEOPS *
FACE scale
Numeric rating scale
Behavior pain scale
03 ระยะเรื้อรัง
และสุดท้าย
ระยะเรื้อรัง
การส่งเสริมการเผชิญความเครียดที่สำคัญ คือ การลดความรู้สึกที่
แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
ระยะสุดท้าย
มี 5 ระยะ
1) ระยะตกใจและปฏิเสธ (Shock & denial)
2) ระยะโกรธ (Anger)
3) ระยะต่อรอง (Bargaining)
4) ระยะซึมเศร้า (Depression)
5) ระยะยอมรับ (Acceptance)
เป้าหมายการดูแลเมื่อเด็ก
เข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต
การดูแลให้เด็กตายอย่างสงบโดยไม่มีอาการปวดอาการไม่สุข
เป็นการดูแลที่
คงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1)Body image
ภาพลักษณ์ เป็นการรับรู้ของบุคคลต่อลักษณะภายนอกของตน เมื่อเจ็บป่วยร่างกายจะ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะภายนอก จึงมีผลต่อความรู้สึกของเด็ก
นางสาวพรชิตา เครือคง 612901059