Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system), นางสาวศศิวิมล…
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
(Diseases of Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน
(Upper Urinary tract)
ไต (Kidney)
เป็นที่กรองเอาน้ำ ของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
หน่วยไต (Nephron)
หน้าที่สร้างปัสสาวะ
Renal corpuscle
Renal tubule
กรวยไต (Renal Pelvis)
ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ท่อไต (Ureter)
นำน้ำปัสสาวะจากไตไปกระเพาะปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง
(Lower Urinary tract)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
เป็นที่เก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราว เมื่อได้จำนวนที่พอจึงหดตัวบีบน้ำปัสสาวะไปสู่ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะไปนอกร่างกาย
Renal malformations
ความผิดปกติไต
ความผิดปกติในปริมาณเนื้อไต
Agenesis
ภาวะที่ไม่มีเนื้อไตหรือไตฝ่อ
เป็นข้างเดียว
เป็นสองข้าง
Potter syndrome
แขนขาที่ผิดปกติบ่อยคือ รูปร่างผิดปกติ โก่ง บิด ข้อเคลื่อน clubfoot เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำ ร่างกายจึงถูกกด
Potter facies
หูติดต่ำ ผิวหนังย่น จมูกงุ้ม คางเล็ก มีสันนูนเด่นที่หัวคิ้วทั้งสองข้าง
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่าร้อยละ 50
จำนวน renal lobule และ calyx ลดลง แต่เนื้อไตไม่ผิดปกติ
Supernumerary kidney
ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่า 2 ไต (ส่วนมี 3 ไต)
ไตที่เกิดจะแยกออกจากไตปกติ เรียกว่า ภาวะไตแฝด
ความผิดปกติในคำแหน่ง รูปร่าง
และ Orientation
Ectopia
ภาวะที่ไตอยู่ในตำแหน่งที่ผิดปกติ
Fusion of kidneys
การเชื่อมกันตรงกลาง
ระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
Malrotation
ภาวะที่ไตมี renal pelvis
และ ureter อยู่ด้านหน้า
ความผิดปกติใน Differentiation
Renal cystic diseases
เป็นพันธุ์กรรมหรือเกิดขึ้นภายหลัง
Polycystic kindney disrase
Adult type
พบได้บ่อยในทั้งสองข้างของไต
กรรมพันธ์ุแบบ autosomal dominant
ผิวนอกตะปุ่มตะป่ำ
Infantile type
พบตั้งแต่วัยทารกแรกคลอด
มักเสียชีวิตในระยะแรก ๆ
กรรมพันธ์ุแบบ autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวนอกเรียบ
Medullary cycst
Medullary sponge kidney
ไตทำงานปกติแต่มีการขยายใหญ่
เป็นถุงของ collecting tube
ของ medullaพบในวัยผู้ใหญ่
Uremic Medullary cycst disease
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุ์กรรม
มีอาการตั้งแต่เด็ก พบ cyst ใน medulla
Simple cyst
อาจพบ cyst เดียวหรือหลายอัน ขนาดอาจเล็กหรือใหญ่ มักพบบริเวณ cortex เกิด dilatation ของ tube ทำให้มีเลือดออก
Glomerular diseases
พยาธิที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
Glomerulonephritis (GN)
การอักแสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต
เป็นภาวะแพ้ภูมิตนเอง (autoimmunity) เช่น
Malaria
Syphilis
Hepatitis
Systemic Lupus Erythematosus (SES)
พยาธิที่ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคไตจากเบาหวานหรือจากการรักษาเบาหวานเกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำและขาด ADH
กลไกการเกิด
การกรองเพิ่มขึ้น (Hyperfiltration)
น้ำตาลในเซลล์ลดลง ขาดพลังงานในการหดตัว หลอดเลือดขยาย
จึงไหลไปกรองที่ไตเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin ทำให้เกิดภาวะกรดเกิน (hyperkalemia) เนื่องจากพยาธิสภาพที่หลอดเลือดฝอยไต
Tubulo-interstitial diseases
โรคที่มีความผิดปกติในรูปร่าง
หน้าที่ tube และ interstitium ของไต
Chonic interstitial nephritis
Acute interstitial nephritis
Urinary tract infection (UTI)
คือ กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis) อาจเกิดเพียงข้างเดียวหรือ 2 ข้างพร้อมกัน
Acute Pyelonephritis
เกิดทันที รุนแรง รักษาหาย
ใน 2-3 สัปดาห์ มีอาการไตบวม
โตมีเลือดคั่งมาก
รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
หรือมีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
Chronic Pyelonephritis
เป็นการอักเสบที่ไม่รุนแรง
เป็น ๆ หาย ๆ มักเกิดจากการควบคุมสาเหตุโรคไม่ได้ เช่น
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ (Urolithiasis)
cycstalloid con เพิ่มขึ้นจึงปัสสาวะน้อย
cycstalloid ตกตะกอนมากขึ้นforeign bodies แบคทีเรีย
ไตมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ แผลเป็นรูป U
Tubular diseases
โรคที่สำคัญคือ Acute tubular necrosis (ATN) เป็นภาวะที่มีการถูกทำลายอย่างเฉียบพลันของ Renal tubule จากการขาดเลือดไปเลี้ยงที่ไตนาน
ชนิดของ
Acute tubular necrosis (ATN)
Nephrotoxic type
ได้รับสารพิษ
Ischemic type
ภาวะ shock
ระยะของ
Acute tubular necrosis (ATN)
ระยะที่ 1 Oliguric phase
ปัสสาวะน้อย มีอาการบวม
ระยะที่ 2 Diuretic phase
มีการสร้าง cell ใหม่ ไม่สามารถดูดน้ำกลับได้ ปัสสาวะจึงออกมาก
ระยะที่ 3 Recovery phase
tubular cell ดูดน้ำกลับได้ปกติ ปัสสาวะจึงมีปริมาณปกติ
Nephrocalcinosis
กาารมีระดับแคลเซียมในเลือดสูง ร่างกายขับแคลเซียมออกไม่หมด เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมในเนื้อไต
Urinary tract obstruction
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ พิการมาแต่กำเนิด, การอุดกั้นจากรอยโรคภายที่เกิดแล้ว, ความผิดปกติของระบบประสาทที่กระเพาะปัสสาวะ
ทำให้ทางเดินปัสสาวะมีการขยายตัว และมีโอกาสเกิดนิ่ว ติดเชื้อและทำงายเนื้อไตอย่างถาวร
ความผิดปกติส่วนของท่อไต (Ureter)
Ureter Obstruction
การอุดกั้นทำให้ปัสสาวะที่สร้างขับออกจากร่างกายไม่ได้หรือได้น้อย ทำให้เกิด hydronepphrosis ของไตข้างนั้น
Vesicoureteral reflux
พบมากในเด็ก เป็นความผิดปกติจากการไหลย้อนของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะไปหลอดไตและ renal pelvis
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียจากการกลั้นปัสสาวะ มักเกิดในผู้หญิงเพราะท่อปัสสาวะสั้น
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)
เป็นการเสบ เจ็บ บวม ของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะ เกิดหลายสาเหตุ แต่ที่พบมากจากการมีเพศสัมพันธ์
พบได้ทุกอายุ แต่ผู้หญิงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย มักพบในอายุ 20-35 ปี
สาเหตุ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ติดเชื้อจากโรคหนองใน และไม่ใช่หนองในเช่น โรคริม โรคเอดส์
การติดเชื้อจากไม่ใช่เพศสัมพันธ์ เช่น เชื้อ E.coli (staphylococcus) หรือ Pseudomonas
การบาดเจ็บของท่อทางเดินปัสสาวะจากการสวนปัสสาวะ เช่น การผ่าตัด การใส่ท่อปัสสาวะผู้อัมพาต
อาการในเพศชายจะมีหนอง
ออกจากปลายท่อปัสสาวะ
อาจคลำได้ต่อมน้ำเหลืองขาหนีบโต เจ็บ
นางสาวศศิวิมล วุฒิเขตร์
ห้อง 1A เลขที่ 70
รหัสนักศึกษา 623601071