Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวกัญญาภัค จีนเวียงคอย รุ่น36/1 เลขที่ 11…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์
การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ
ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาต
การกระทำต่อตนเอง
ดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
นักเรียน นักศึกษา
รับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตในประเทศของตน
ออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
4หมวด 38ข้อ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
พิจารณาความผิดของผู้ผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
4.สภาส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลว่ามีมูล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวน
มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล พยานหลักฐานข้อเท็จจริง
อายุความการกล่าวหา
มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุ และมีกำหนด 1
ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำผิด
ประเด็นที่ 1
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 มกราคม 2542
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542
ประเด็นที่ 2
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 10 มกราคม 2541
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 9 มกราคม 2542
ประเด็นที่ 3
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 พฤศจิกายน 2543
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่31 ธันวาคม 2543
การพิจารณาสอบสวน
กฎหมายให้สิทธิคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการได้ โดยบุคคล
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
การคัดค้านต้องยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วัน
เมื่อเรื่องขึ้นสู่การพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล -->ไม่มีการยอมความหรือเเต่งตั้งทนาย
เมื่อมีคำสั่งโทษ หยุดทำงานทันที เพิกถอนใยอนุญาตภายใน 15 วัน
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี วันเพิกถอน
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี ถ้าปฏิเสธครั้งเเรก
บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติวิชาชีพ
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ.2540)
เกี่ยวกับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
มีจรรยาบรรณ
ให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐาน
มีองค์กรวิชาชีพ
มีศาสตร์เฉพาะ
มีความจำเป็นต่อสังคม
โทษทางอาญา
ไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ
ฝ่าฝืน ไม่ส่งใบอนุญาตภายใน
15 วันปรับไม่เกิน 1000 บาท
ไม่มาให้คำไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท
ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท
ตามมาตรา 43 กำหนด
การเพิ่มโทษทางวิชาชีพตามกฎหมาย(มาตรา44)
ระหว่างถูกพักใช้และเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพแล้วไปแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
กฎหมายวิชาชีพ-->เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของความเป็นวิชาชีพ มีความ
จำเป็นต่อทุกวิชาชีพ
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่สามารถฟ้องล้มละลายได้
เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย
นิติบุคคลทำความผิดล้มละลาย ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล (มาตรา7)
อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล (มาตรา8)
รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ
3.จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล
4.รายได้จากเงินบริจาค
ตราสภาการพยาบาล
มีตะเกียงตั้งอยู่บนฐานของดอกบัว
มีคำว่าสภาการพยาบาลเหนือตะเกียงในวงกลม
มีตราตามกฎหมายเป็นรูปวงกลม
พ.ศ.2528 อยู่ที่ฐานของดอกบัว
ประเภทของสมาชิก
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย(หมวด2มาตรา11-13)
1.สมาชิกสามัญ
การพ้น
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11
ต้องส่งใบคือ ภายใน 15 วัน
2.สมาชิกกิตติมศักดิ์
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาการพยาบาลเห็นสมควรเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
จำนวนอายุ การเป็นผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง
โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม เช่น เอดส์ เท้าช้าง เรื้อน
โรคจิต โรคประสาท
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในต่างประเทศ
ไม่ใช่สัญชาติไทย
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จการศึกษาตามที่กำหนด
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน
สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาตามกำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาตามที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จ
สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
รัฐ ต้องฝึกอย่างน้อย 2 ปี
หลัง 24 ธันวาคม 2540
สมัครเป็นสมาชิกสามัญขอสอบขึ้นทะเบียน
ประเภทของใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภา
หน้าที่
1.ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
2.เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
3.เป็นประธานในการประชุมสภา
เลขาธิการสภา
หน้าที่
1.ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
2.ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
3.รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
4.ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
5.เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภา
2.การลงมติ
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
4.การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
5.การเข้าแทนตำแหน่งของกรรมการสภาที่ว่างลงก่อนครบวาระ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
นางสาวกัญญาภัค จีนเวียงคอย
รุ่น36/1 เลขที่ 11 รหัส 612001011