Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด -โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ…
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
-โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
การลดลงอย่างผิดปกติของระดับฮีโมโกลบินจากการสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง หรือจากการทำลายเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากผิดปกติ
การจำแนกภาวะโลหิตจางที่พบในระหว่างการตั้งครรภ์
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
Physiologic anemia of pregnancy
โลหิตจางเนื่องมาจาก hemodilution ของ hypersplenism
โลหิตจางจากการสร้างลดลง (จำนวน reticulocyte ใน peripheral blood ลดลง)
สาเหตุที่กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก ได้แก่ โลหิตจางจากการขาดเหล็ก, Pure red cell aplasia
สาเหตุที่กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง ได้แก่ Megaloblastic anemia, Aplastic anemia
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย (จำนวน reticulocyte ใน peripheral blood เพิ่มขึ้น)
Sickle cell anemia
Thalassemia
Autoimmune hemolytic anemia
Hemolytic anemia เนื่องจาก oxidative stress
การเสียเลือด
การวินิจฉัยโลหิตจาง
การตรวจร่างกาย
เยื่อบุซีด ที่สังเกตได้บ่อยคือ เยื่อบุตา ลิ้น หรือขอบเล็บนิ้วมือ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด, ระดับฮีโมโกลบิน, เม็ดเลือดขาว, เกร็ดเลือด และขนาดเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย(MCV = mean cell volume)
ถ้าพบว่าเป็น microcytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่าน้อยกว่า 75 fl ซึ่งพบได้ในโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก, ธาลัสซีเมีย, lead poisoning และ sideroblastic anemia
ถ้าพบว่าเป็น macrocytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่ามากกว่า 100 fl พบได้ในกรณีขาดโฟลิค, acquired macrocytic anemia, โรคตับ และดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
การตกเลือดก่อนคลอด
ธาลัสซีเมีย
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
การติดเชื้อ
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron stores depletion : เมื่อร่างกายได้รับธาตุเหล็กจากอาหารไม่เพียงพอ
Iron deficiency erythropoiesis : เมื่อธาตุเหล็กสะสมหมดสิ้นลง
Iron deficiency anemia : เป็นระยะที่ธาตุเหล็กเหลือไม่เพียงพอต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง
การป้องกัน
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์ ยกเว้น มีข้อห้ามในการให้ เช่น มีภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (hemochromatosis)
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กโดยให้ความรู้โภชนศึกษาแก่หญิงที่มารับบริการคลินิกฝากครรภ์
การรักษา
การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม (ยา Ferrous Sulphate ขนาดเม็ดละ
300 มิลลิกรัม มีธาตุเหล็กผสมอยู่ 60 มิลลิกรัม จึงให้วันละ 1 เม็ด 3 ครั้ง)
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood