Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด และการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
และการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
Blunt injury
เกิดจากแรงกระแทกอุบัติเหตุรถชน หรือตกจากที่สูง
Penetrating trauma
่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผล
ลักษณะและอาการแสดงของการได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
อาการปวด
ปวดจากการฉีกขาดของผนังหน้าท้อง
อวัยวะภายในได้รับอันตราย
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
อาการท้องอืด
ไม่ได้ยินเสียงการเคลอื่นไหวของลำไส้
ที่เกิดภาวะช็อก คำนึงถึงการตกเลอืดในอวัยวะภายในช่องท้อง
ภาวะฉุกเฉินผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
แบ่งความรุนแรงออกเป็น 3 ชนิด
ผู้ป่วยที่มีอาการหนักมาก Shock ท้องอืด มีเลือดออกในช่องท้องจำนวนมาก ต้องได้รับการ ผ่าตัดทันที
ผู้ป่วยที่สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการของการบาดเจ็บที่ช่องท้องชัดเจน
ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพคงที่ แต่มีอาการแสดงของการบาดเจ็บช่องท้อง
ภาวะเลือดออก
เป็นผลมาจากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
Hypovolemic shock มีสาเหตุเกิดจากการเสียเลือดเกินร้อยละ 20 - 30 ของปริมาณเลือดในระบบไหลเวียน
ความดันในเลือดแดงจะลดลง เนื้อเยื่อต่างๆ คือ ไตสมอง หัวใจ ลำไส้ จะขาดเลือด
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate) อวัยวะที่เป็นโพรงและเกิดการปนเปื้อนของสิ่งที่อยู่ในช่องท้อง
ในกลุ่มนี้ทำให้มีการรั่วของอาหาร น้ำย่อยเข้าไปในช่องท้องเกิดภาวะการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง
ผู้ป่วยมักมีลักษณะปวด รุนแรงมาก ปวดทั่วท้อง กล้ามเนื้อทั่วท้องจะแข็งเกร็ง และจะปวดมากเวลาเคลื่อนไหวหรือสะเทือน
ถ้าการอักเสบรุนแรงมากผู้ป่วยอาจช็อกและเกิด organ failure ได้
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
การประเมินผู้ป่วย
Primary survey
B. Breathing and ventilation การประเมินภาวะการหายใจของผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
C. Circulation with hemorrhagic control เป็นการประเมินการเสียเลือดหรือภาวะ Hypovolemic shock อย่างรวดเร็ว
A. Airway maintenance with Cervical Spine control มีการประเมินภาวะของ airway obstruction, foreign bodies, facial, mandibular or tracheal/laryngeal fracture โดยต้อง ระวังการบาดเจ็บของ C-spine เสมอ
D. Disability: Neurologic status คือการประเมิน neurological status
E. Exposure/ Environment control คือการถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยเพื่อตรวจหาร่องรอย บาดแผลที่ชัดเจน แต่ต้องระวังภาวะ Hypothermia ด้วย
Resuscitation เป็นการแก้ไขภาวะ immediate life threatening conditions ที่พบใน Primary survey
Secondary survey เป็นการตรวจอย่างละเอียด (head to toe) เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยว่า ผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจบ็ที่อวัยวะใดบ้าง จะทำหลังจาก Resuscitation แล้ว
Definitive care เมื่อไดร้ับการวินิจฉัยแล้วกเ็ป็นการรกัษาที่เหมาะสม
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บช่องท้อง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
กำจัดสาเหตทุี่ทำใหเ้กิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
การบรรเทาความเจ็บปวดโดยวิธีการใช้ยาตามแผนการรกัษาและวิธีการไม่ใช้ยา
ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกงัวลของผู้ป่วยและครอบครัว
การเฝ้าระวัง การประเมินความรุนแรงเบื้องต้นเป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดในการรักษาโดยต้องมี การประเมินทางคลินิกอย่างรวดเร็วและให้การรักษาพยาบาลไปพร้อมๆ กัน
บาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
ผู้ป่วยที่ได้รบับาดเจ็บจากการกระแทกและมีอาการปัสสาวะเป็นเลือด การบาดเจ็บบรเิวณฝีเย็บ มักมีปญัหาเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ
อาจแบ่งเป็นการบาดเจ้บจากการทิ่มแทง
การบาดเจ็บจากการกระแทกหรือแรงอัด
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
Acute MI
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemicheart disease, IHD) หรือโรคหลอดเลือดแดง โคโรนารี(Coronary
artery disease, CAD)
โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดง ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากไขมัน และเนื้อเยื่อสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (stable angina) หรือ ภาวะเจ็บเค้นอกเรื้อรัง (chronic stable angina)
อกเป็นๆ หายๆ อาการไม่รุนแรง ระยะเวลาครั้งละ 3-5 นาทีหายโดยการพักหรืออมยาขยายเส้นเลือดหัวใจเป็นมา
นาน กว่า 2 เดือน
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome, ACS)
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บขณะพัก (Rest
angina) นานกว่า 20 นาทีหรือ เจ็บเค้นอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม
ST elevation
ผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads
หากผู้ป่วยไม่ได้รับการเปิดเส้นเลือดที่อุดตัน ใน
เวลาอันรวดเร็วจะทําให้เกิด Acute ST elevation myocardial infarction
ภาวะหัวใจ ขาดเลือดเฉียบพลัน
Non ST elevation
มักพบลักษณะของคลื่น ไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
ไม่พบ ST segment elevation
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
อาการเจ็บแน่นหรืออึดอัดบริเวณหน้าอก หรือปวดเมื่อย หัวไหล่หรือปวดกราม หรือจุกบริเวณลิ้นปี่
เป็นมากขณะออกกําลังซึ่งอาการเจ็บเค้นอก
นั่งพักหรืออมยา nitroglycerin อาการจะทุเลาลง
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออก กําลังกาย
(exercise stress test)
การตรวจ cardiac imaging ชนิดต่าง ๆ
การวินิจฉัยแยกโรค
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ํา
อาจสงสัยว่าอาการเจ็บเค้นอกนั้นมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วย ที่มีอาการเจ็บเค้นอกและเคยได้รับการตรวจพิเศษทางระบบหัวใจที่มีความแม่นยําใน
การรักษา
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
ให้ Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืน ถ้าไม่มีประวัติแพ้ยา Aspirin
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้น หลังได้ยาอมใต้ลิ้น พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg เจือจางทางหลอดเลือดดํา
เตรียมพร้อมสําหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
นําส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
กลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
อาการที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นๆ หายๆ มาเป็นเวลานานส่วน
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ําเฉียบพลัน
ประสิทธิภาพการบีบตัวของ หัวใจลดลงอย่างรวดเร็ว
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
การวินิจฉัย
ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจรวมทั้งคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead หลังจากการกู้ชีพสําเร็จ
อาจคิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในผู้ที่มีอาการหมดสติชั่วคราว
ควรพิจารณาส่งผู้ป่วย เพื่อตรวจสืบค้นเพิ่มเติม
บทบาทของพยาบาลฉุกเฉินในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
ประสานงาน
ให้ออกซิเจน
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
หลัก OPQRST
Q: Quality ลักษณะของ อาการเจ็บอก
R: Refer pain สำหรับอาการเจ็บร้าว
P: Precipitate cause สาเหตุชักนําและการทุเลา
S: Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บแน่นอก หรือ Pain score
T: Time ระยะเวลาที่เป็น
O: Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
Pulmonary embolism (PE)
เป็นภาวะที่เกิดจากการที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นในหลอดเลือดดํา และหลุดไปอุดที่หลอดเลือดที่ปอด
มีส่วนน้อยที่เกิด บริเวณ
หลอดเลือดดําที่แขน
โดยมากมักเกิดที่บริเวณหลอดเลือดดําที่ขา
กลไกที่ทําให้เกิดลิ่มเลือดมี 3 ปัจจัย
การไหลเวียน ของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
มีความผิดปกติของเลือด ที่ทําให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย (hypercoagulable states)
มีผนังหลอดเลือดดําที่ผิดปกติเกิดจากมีlocal trauma หรือมีการอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยง
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
เคยเป็น deep vein thrombosis (DVT) หรือ PE มาก่อน
มีโรคมะเร็ง
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้estrogen
ประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านนมา
อาการแสดงทางคลินิก
ผู้ป่วยมักจะมีอาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก (pleuritic pain)
บางรายมีอาการหน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ
ตรวจร่างกาย
ผุ้ป่วยมักหายใจเร็ว
มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia)
หัวใจเต้นเร็ว
มีหลอดเลือดดําที่คอโป่ง (elevated jugular venous pressure)
ฟังปอดมักปกติหรืออาจฟังได้เสียงวี๊ด (wheezing)
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติตรวจร่างกาย สามารถจะบอกถึงความน่าจะเป็น (pretest probability) ของ PE ได้ โดยใช้ wells scoring system
ถ้าคะแนนมากกว่า 6 ขึ้นไป โอกาสที่จะเป็น PE จะสูงมาก
การถายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray) มักพบว่าปกติเป็นส่วนใหญ่ อาจพบว่ามีเนื้อปอด บางบริเวณที่มีปริมาณหลอดเลือดลดลง (regional hypo perfusion) หรือเห็นมี infiltration ที่บริเวณปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG) ส่วนใหญ่พบว่าหัวใจเต้นเร็ว
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง
ค่า biomarkers ต่างๆ ที่พบว่าสูงกว่าปกติ
Troponin-I หรือ T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide อาจสูงกว่าปกติได้
การรักษา
Anticoagulation
ผู้ป่วยส่วนมากในกลุ่มนี้จะได้รับการรักษาโดยการให้anticoagulation คล้าย ๆ กับการรักษา DVT
Thrombolytic therapy
มักจะเก็บไว้ในผู้ป่วยที่มีกรณีmassive pulmonary emboli ที่มีระบบหัวใจ
และปอดทํางานผิดปกติมีผลกับ haemodynamic อย่างรุนแรง
Caval filter
คือการใส่ตะแกรงกรอง embolism ใน inferior vena cava ตัวกรองเหล่านี้จะเป็นตัว เก็บก้อนเลือดซึ่งมาจากขาหรือ iliac vein