Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ, ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์ - Coggle Diagram
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ,
ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
การประเภทของทารกแรกเกิด
จำแนกตามนํ้าหนักแรกเกิดทารกแรกเกิด
น้ำหนักน้อย ปกติ มาก
จำแนกตามอายุในครรภ์ : ทารกเกิดก่อน
กำหนด ครบ และหลังกำหนด
จำแนกตามนํ้าหนักแรกเกิดและอายุในครรภ์
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อยกว่าอายุในครรภ์
(SGA) Small for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักตํ่ากว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10
เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
เรียกว่าทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักตํ่ากว่าอายุครรภ์
มีนํ้าหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักเหมาะสมกับอายุในครรภ์ (AGA)
Appropriate for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักอยู่ระหว่างเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10
ถึง 90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์
พบได้ร้อยละ 80 ของทารกทั้งหมด
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักมากกว่าอายุในครรภ์ (LGA)
Large for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักมากกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 90
เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักมากกว่าอายุครรภ์
มีนํ้าหนักแรกเกิดมากกว่า 4,000 กรัม
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อย
(Low birth weight)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 2,500 กรัม
อาจจะเป็น preterm/term/postterm
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมาก
(very low birth weight : VLBW)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,500 กรัม
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมากๆ
(extremely low birth weight : ELBW)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,000 กรัม
อุบัติการณ์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่แผนฯ
7 จนถึงแผนฯ 10 (2535 – 2554)
ลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย โดยให้มีอัตราทารก
แรกเกิดนํ้าหนักน้อยไม่เกินร้อยละ 7
องค์ประกอบ
องค์ประกอบด้านมารดา สาเหตุจาก ความผิดปกติหรือความเจ็บป่ วยของมารดาขณะตั้งครรภ์ เช่น มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง
องค์ประกอบด้านทารก เช่น ทารกแฝด พิการหรือติดเชื้อแต่กำเนิด
3.องค์ประกอบด้านรก เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อน
กำหนด
ทารกโตช้าในครรภ์(intrauterine growth restriction,IUGR)
เป็นสาเหตุการตายปริกำเนิดของทารกสูงเป็นอันดับสองรองจากการคลอดก่อนกำหนด
อัตราตายปริกำเนิดของทารกในกลุ่มนี้สูงกว่าทารกปกติ 6-10 เท่า
สาเหตุการตายส่วนใหญ่เกิดจาก intrauterine
asphyxia และ/หรือ ความพิการแต่กำเนิดของทารก
ทารกที่มีนํ้าหนักน้อยกว่า 10th percentile
ของนํ้าหนักทารกที่อายุครรภ์นั้น ๆ
สาเหตุ
การติดเชื้อในครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ
trisomy 18, trisomy 13
ความพิการโดยกำเนิด เช่น หัวใจพิการแต่กำเนิด, renalagenesis, anencephaly, osteogenesisimperfecta
ภาวะขาดอาหาร อาจเกิดจากมารดามีโรคเรื้อรังที่ทำให้การดูดซึมสารอาหารผิดปกติไป เช่น Crohn's disease,chronic ulceritis เป็นต้น มารดาที่ยากจนและทุพโภชนาการจะมีทารกที่น้ำหนักน้อยกว่าปกติ หรือการตั้งครรภ์ที่ติดกันมากเกินไป เป็นต้น
นํ้าหนักมารดาขึ้นน้อย โดยเฉพาะถ้าน้ำหนักไม่ขึ้นหลังอายุครรภ์
28 สัปดาห์จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของทารก
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น thalassemia เป็นต้น
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
โรคทางหลอดเลือดในมารดา เช่น ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง PIH
โรคทางคอลลาเจน เบาหวานชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดแล้ว
โรคไตบางชนิดที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง หรือมีการสูญเสียโปรตีน
ยาและสารอันตราย เช่น บุหรี่ แอลกอฮอล์ โคเคน narcotics และ
ยากันชักบางตัว เช่น phenytoin, trimethadione
รกเสื่อมสภาพ (placental infarction) กินบริเวณกว้าง
รกลอกตัวก่อนกำหนด (placental abruption) เป็นหย่อม ๆ
รกเกาะต่ำ และ circumvallate placenta ทำให้ทารกโตช้าได้
แต่มักไม่รุนแรงมาก
ภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อมารดาและทารก
น้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
แคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia)
ความเข้มข้นของเลือดสูง (polycythemia)
Hyperbilirubinemia
Meconium aspiration syndrome
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เพราะภูมิต้านทานต่ำ
ความผิดปกติอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กับ FGR ได้บ่อย ๆ เช่น
โครโมโซมผิดปกติ ความพิการแต่กำเนิด
เพิ่มความผิดปกติในพัฒนาการระยะยาว
โดยเฉพาะการเจริญเติบโต พัฒนาการทางสมอง
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น
เพิ่มอัตราC/S เนื่องจากพบทารกมีภาวะเครียดได้สูง
ส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจสูง
ทารกขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์(Small for Gestational Age(SGA, IUGR) Neonate)
ทารกที่น้ำหนักน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นไทล์เมื่อ
เปรียบเทียบกับอายุครรภ์
น้ำหนักน้อยกว่าอายุครภ์ (SGA)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อขนาดและรูปร่างของทารก
พันธุกรรม
เพศ
ที่อยู่อาศัยบนที่สูง
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomies และ
dwarf syndrome
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
สาเหตุ
มารดาติดสารเสพติด,สุรา,บุหรี่,มีภาวะซีดเรื้อรัง,โรคหัวใจ
โรคไต,ตั้งครรภ์แฝด,ความผิดปกติทางโครโมโซม,ติดเชื้อแต่กำเนิด เช่น TORCH ซิฟิลิส
อวัยวะต่างๆจะเจริญเติบโตสัมพันธ์กัน แต่ขนาดตัวเล็ก
(symmetric growth retardation)
ลักษณะร่างกายไม่สมส่วน
(asymmetrical growth retardation)
ภาวะแทรกซ้อน
พลังงานสะสมในร่างกายทารกลดลง,น้ำคร่ำน้อย,ทารกขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด,สำลักน้ำคร่ำที่มีขี้เทา,ตัวเย็น,น้ำตาลในเลือดต่ำ,แคลเชี่ยมต่ำ,ภาวะเลือดข้น,ตัวเหลือง
การรักษา
ระบุความเสี่ยงต่อภาวะ IUGR ของทารกจากการวัด HF. ,U/S เป็น
ระยะเพื่อประเมินความพิการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ให้คลอดเมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนดหรือทารกอาจไม่ปลอดภัย
ดูดน้ำคร่ำและช่วยกู้ชีพเมื่อคลอด
ดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกาย และให้ดูดนมแม่โดยเร็วหลังคลอด
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC , TORCH titer,urine CMV และ drug screening , chromosome studies, total bilirubin
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การรักษาอุณหภูมิร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: มีข้อจำกัดของร่างกายในการรักษาอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่เกิดก่อนกำหนด มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่องเนื่องจาก: พลังงานสะสมใน
ร่างกายลดลง หายใจไม่มีประสิทธิภาพ สูดสำลักขี้เทา
การปฏิบัติหน้าที่บิดามารดาบกพร่อง เนื่องจาก: ทารกถูกแยกไปรักษาที่ทารกป่วย มารดาติดสารเสพติดหรือสุราขณะตั้งครรภ์มารดาไม่ต้องการบุตร
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บเนื่องจาก: ระดับนํ้าตาลไม่เพียงพอต่อการนำไปเลี้ยสมองจากภาวะ IUGR มีการสะสมไกลโคเจนน้อย มีเอนไซม์สำหรับการสังเคราะห์กลูโคสน้อย มีเมตาบอลิสสูง
จัดอุณภูมิห้องที่อบอุ่นสำหรับทารก ภาวะตัวเย็นจะทำให้ทารก
มีเมตาบอลิสสูงขึ้น และเผาผลาญกลูโคสมากขึ้น
ประเมินและแก้ไขภาวะหายใจลำบากอย่างเร่งด่วน
ภายหลังคลอดให้ทารกดูดนมมารดาเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้และ
หลังจากนั้นทุก 2-3 ชั่วโมง
เจาะเลือดที่ส้นเท้า เพื่อประเมินระดับน้ำตาลภายในชั่วโมงแรก
และรายงานแพทย์ถ้าน้อยกว่า 40 มก./ดล.
ถ้าจำเป็นให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยใช้เครื่องช่วยควบคุม
จำนวนหยด
สังเกตอาการที่แสดงว่าทารกมีภาวะน้ำตาลต่ำ ได้แก่ สั่น กระสับกระส่าย อ่อนแรง เหงื่อออก หยุดหายใจ ชัก ระดับความรู้สึกตัวลดลง ประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
อธิบายครอบครัวให้ทราบและเปิดโอกาสให้ซักถามเหตุผล
ที่ต้องเจาะเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจาก : มี
ภาวะเลือดข้น
สังเกตภาวะการหายใจถูกกดอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ หายใจเร็วมีเสียงดัง ปี กจมูกบาน อกบุ๋ม หยุดหายใจ รวมทั้งเตรียมเครื่องช่วยหายใจไว้ในสภาพที่พร้อมใช้
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ ชีพจรส่วนปลาย สีผิวและ
การเปลี่ยนแปลงทุก 1 ชั่วโมง
ปรเมินปริมาณน้ำที่เข้า-ออกจากร่างกาย
สังเกตอาการที่เกิดจากระบบไหลเวียนไปเลี้ยงประสาท
ส่วนกลางเพียงพอ เช่นพฤติกรรมเปลี่ยนแป
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ช่วยเหลือในการเปลี่ยนถ่ายเลือดตามอาการของทา รก
การเจิญเติบโต และพัฒนาการล่าช้าเนื่องจาก: ได้รับอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอเพราะทารกมีนํ้าหนักน้อย คลอด
ชั่งน้ำหนักทารกทุกวัน
ส่งเสริมให้ทารกได้รับสารอาหารอย่างเหมาะสมโดยให้ความช่วยเหลือมารดาในการให้นมมารดา
พูดคุยกับพ่อแม่เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมต่อทารก
สังเกตพฤติกรรมและกระตุ้นพัฒนาการด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับทารก โดยประเมินอาการที่ทารกแสดงออกถึงความเครียด เช่นหายใจเร็ว หาว ไม่ให้ความร่วมมือ ร้องไห้
ส่งเสริมการนอนหลับของทารกโดยลดปัจจัยกระตุ้นระหว่างที่ทารกนอนหลับ เช่น เสียง
อธิบายและส่งเสริมให้ทารกนอนแนบอกมารดา (kangaroo)
ช่วยบิดามารดากระตุ้นพัฒนาการของทารกโดยใช้เวลาช่วงสั้นๆ
และบันทึกการตอบสนองต่อการกระตุ้นของทารก
ทารกขนาดโตกว่าอายุครรภ์(Large for Gestational Age (LGA,IDM)Neonate)
ทารกที่มีนํ้าหนักเปรียบเทียบกับอายุครรภ์
มากกว่าหรือเท่ากับ 90 เปอร์เซ็นไทล์
ปัจจัย
กรรมพันธุ์ (มารดาน้ำหนักมาก)
เพศ (เพศชายมักมีขนาดตัวใหญ่มากกว่าเพศหญิง)
ปัจจัยทางด้านพยาธิสรีรวิทยา เช่น hydrops
fetalis
การมีหลอดเลือดใหญ่อยู่ผิดที่
Beckwith-Wiedemann syndrome
ทารกที่มารดาเป็นเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนของ IDM
CPD ส่งผลให้ทารกบาดเจ็บจากการคลอด ได้แก่ คลอดยาก ติดไหล่
ก้อนบวมเลือดที่ศีรษะ กระดูกหัก Erb’s palsy ใบหน้าอัมพาต
ใช้ออกซิโตซิน ช่วยคลอดด้วยคีม หรือผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
มีภาวะหายใจลำบาก ระบบหายใจมีการพัฒนาล่าช้า
เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซี่ยมต่ำ
หัวใจโต หัวใจพิการแต่กำเนิดและ caudal regression
syndrome
การรักษา
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
คาดคะเนขนาดของทารกกับเชิงกรานของมารดา อาจวางแผนC/S
ประเมินการบาดเจ็บของทารกเพิ่มเติมจากการเอกเรย์ หรือ ซีที
สแกน (CT-scan)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง เนื่องจาก: ระบบทางเดินหายใจยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ และสร้างสารลดแรงตึงผิวได้น้อยจากภาวะเบาหวานของมารดา
การกำซาบของเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: ทารกมี
ภาวะเลือดข้น เลือดมีความหนืด
ดูแลให้ทารกแรกเกิดได้รับความอบอุ่น และประเมินระบบหัวใจและ
การหายใจ ซึ่งภาวะตัวเย็นและการหายใจถูกกดจะทำให้ทารกใช้กลูโคสมากขึ้น
ประเมินความพิการแต่กำเนิด ได้แก่หัวใจพิการ
หากพบว่าทารกบาดเจ็บจากการคลอดรายงานแพทย์และเตรียมการ
ประเมินเพิ่มเติม เช่น X-ray , CT-scan
ทารกที่มีอาการคงที่ ให้ดูดนมมารดาภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
และหลังจากนั้นทุก 2-3 ชั่วโมง
เจาะเลือดที่ส้นเท้าเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในชั่วโมงแรกหลังคลอด หลังจากนั้นทุก 1-2 ชั่วโมง 6 ครั้ง และหลังจากนั้นประเมินทุก 6 ชั่วโมง ถ้าน้อยกว่า 40 มก./ดล. รายงานแพทย์
สังเกตอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ ได้แก่ สั่น กระสับกระส่าย เหงื่อออกกล้ามเนื้ออ่อนแรง หยุดหายใจ ชัก ระดับความรู้สึกตัวลดลง ประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
การเจริญเติบโต และพัฒนาการล่าช้าเนื่องจาก: ทารกมีภาวะ
นํ้าตาลในเลือดสูงเพราะมารดาเป็นเบาหวาน
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ เนื่องจาก: บาดเจ็บจากการคลอดเนื่องจากทารกมีขนาดตัวโต นํ้าตาลในเลือดต่ำเนื่องจากมีอินสุลินสูงในระยะก่อนคลอด
ทารกครรภ์เกินกำหนด
(Postterm Infant)
ทารกที่คลอดหลังจากอายุครรภ์ 42 สัปดาห์
ปัจจัย
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป
มีประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า
มารดาอาจจำประจำเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำคร่ำน้อย
รกเสื่อม
ทารกอาจได้รับสารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ
สายสะดือถูกกด
มีการถ่ายขี้เทาลักษณะเหนียวเนื่องจากมีน้ำคร่ำน้อย
ลักษณะทารกคลอดเกินกำหนด
ตื่นตัว
ตาเปิ ดกว้าง
ลำตัวผอมยาว
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ผิวหนังมีขี้เทา
แห้ง
ลอก
ไม่มีไขหรือขนอ่อน
เล็บยาว
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทารกสูดสำลักขี้เทา
ขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
ภาวะตัวเย็น
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะเลือดข้น
ภาวะตัวเหลือง
ภาวะชัก
การรักษา
ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก
ประเมินทารกด้วย NST, CST และให้คลอดเมื่ออายุครรภ์ 43
สัปดาห์
ดูดมูกก่อนทารกคลอดทั้งตัว และใส่สาย NG เพื่อดูดขี้เทาที่อยู่ใน
ระดับลึกก่อนที่จะหายใจครั้งแรก
ช่วยเหลือการหายใจของทารก ตรวจระดับแก๊สในเลือด ตรวจเอกซเรย์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กลูโคส ฮีมาโตคริต บิลลิรูบิน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: ระบบการควบคุมอุณหภูมิยังไม่สมบูรณ์ มีไขมันใต้ผิวหนังและไขมันสีน้ำตาลน้อยเนื่องจากคลอดเกินกำหนด
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บเนื่องจาก: ระดับน้ำตาลในเลือดไม่เพียงพอต่อ
เมตาบอลิสของร่างกายเนื่องจากคลอดเกินกำหนด
ภาวะเสี่ยงต่อสัมพันธภาพระหว่างบิดากับมารดาของทารกบกพร่องเนื่องจาก: ทารกมีลักษณะที่ต่างจากปกติเนื่องจากคลอดเกินกำหนดทารกแยกจากครอบครัวเนื่องจากต้องได้รับการดูแลที่ห้องทารกป่วย
ภาวะการแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่องเนื่องจาก: ขี้เทาอุดกั้นทางเดินหายใจ ปอดสร้างสารลดแรงตึงผิวยังไม่สมบูรณ์ยังคงมีระบบไหลเวียนเหมือนทารกในครรภ์
ขณะคลอดศีรษะช่วยเหลือในการดูดน้ำและมูกในปากและจมูก
ก่อนที่จะทำคลอดลำตัวทารก
เมื่อคลอดลำตัวแล้ววางทารกใต้ warmer เช็ดตัวให้แห้งอย่าง
รวดเร็วแล้วนำผ้าเปี ยกออก วางทารกในที่แห้งและอุ่น
ประเมินอัตราการหายใจ อาการหายใจลำบาก ปีกจมูกบาน หายใจ
มีเสียง อกบุ๋ม หายใจลำบาก หยุดหายใจ
ให้ออกซิเจนและเครื่องช่วยหายใจตามอาการของทารก(ระบุ oxyhood, PPV, ambu bag,mask, endotracheal tube)
ชั่งน้ำหนักผ้าอ้อมและบันทึกสารน้ำที่เข้า –ออกจากร่างกาย
ทุกชั่วโมง (ปัสสาวะต้องออกไม่น้อยกว่า 1-3 CC/kg/hr)
บริหารการให้ยาตามแผนการรักษา เช่น antibiotic,aminophylline, calciumgluconate,Priscoline,dopamine
ดูดมูกในทางเดินหายใจเฉพาะเมื่อจำเป็นโดยให้ออกซิเจนก่อน
และหลังทำทุกครั้ง
กระตุ้นทารกเมื่อมีอาการหยุดหายใจ เป็นการกระตุ้นการ
ทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติกและกระตุ้นให้ทารกหายใจ