Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูง
(Cardiac output) และความต้านทาน (Peripheral vessel resistant)
สูตรของความดันโลหิต
= จํานวนเลือดที่ออกจากหวัใจ x ความต้านทานหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิตที่ผนังหลอดเลือดแดง สูงเกิน 140/90 mmHg
การวินิจฉัย
ผป.ที่มีความดันโลหิคสูงกว่า หรือ = 140/90 mmHg ติดต่อกัน2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน ั
ปัจจัยที่มีผล
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
ปริมานเลือดในร่างกาย
Resistance
ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดแดง
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือด
ผนังหลอดเลือดหนา
มี 2 ประเภทคือ
สูงไม่ทราบสาเหต ุ
ไม่ทราบสาเหตแุน่ชดัด
เกี่ยวพันการปฎิบัติตัวเช่น การรับประทานอาหาร
สูงที่มีสาเหตุ
เช่น โรคเกี่ยวกับไต และตอ่มหมวกไต
การแบ่งระดับ
1.Prehypertension ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 120/80-139/89 mmHg
2.tage 1 ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140/90-159/99 mmHg
ความดันโลหิตปกติคือ ตํ่ากวา่ 120/80 mmHg
Stage 2 ระดับความดันโลหิตตั้งแต่160/100 mmHg เป็นต้นไป
สูงมากขั้นวิกฤติ
ความดันโลหิตตั้งแต่180/110 mmHg เป็นต้นไป
Hypertensive urgency มีความดันตั้งแต ่180/110 mmHg เป็นต้นไป ยังไม่มี อวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย
Hypertensive emergency มีความดัน ตั้งแต ่180/110 mmHg เป็นต้นไป และมีสัญญาณของอวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย
สาเหตุของความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ
โรคไต
โรคของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติทางระบบประสาท
อาการ
ความดันสูงมากขึ้น
ปวดศีรษะ ที่ท้ายทอย โดยเฉพาะช่วงเช้า หลังตื่นนอน และมักค่อยๆ ดีขึ้นและหายไปเอง
เวียนศีรษะ มึนงง อาจมีอาการ คล้ายจะเป็นลม
เลือดกําเดาไหล
หายใจลําบาก เจ็บหน้าอก
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเล็กน้อยหรือปานกลางมีไม่มีอาการดก็ได้
ผลกระทบของการที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน
ถ้ามีรอยแตกเล็ก ๆ ที่ผนังหลอดเลือด จะเป็นที่สะสมของไขมัน โปรตีน แคลเซียม
การทํางานของหัวใจมากขึ้น
มีการทําลายผนังหลอดเลือดแดง
มีการทําลายของอวัยวะสําคัญได้แก่ สมอง ตา ไต หัวใจ เช่น Stroke,
ACS, CKD
การดูแลรักษา
การจัดการเมื่อมีภาวะฉุกเฉิน โดยรับผู้ป่ วยไว้ใน ICU เฝ้ าระวังความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ให้ยาลดความดันโลหิตทางหลอดเลือดดําอย่างต่อเนื่อง
การจัดการเมื่ออวัยวะเป้ าหมายไม่ถูกทําลาย โดยการให้ยาลดความดันโลหิตทางปาก และติดตามอาการและระดับความดันภายใน 24ชั่วโมง
Thrombopheblitis
อาการ
ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาด
เลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน
การรักษา
ถ้ารักษาด้วยยาไม่ได้ผลทําการผ่าตัดขยายหลอดเลือดหรือเอาก้อน
เลือดออก
ให้ยาขยายหลอดเลือด และยาละลายลิ่มเลือด
สาเหต
อ้วน ตั้งครรภ์ ความผิดปกติของการแข็งตัวของ
เลือด ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
การพยาบาล
ห้ามวิ่ง เดินนาน หรือยกน้ำหนัก ลดน้ำหนัก
ใส่ผ้ายืดหรือถุงน่องรัดขาไว้ สังเกตอาการเลือดออกจากการได้รับยาละลายลิ่มเลือด
ห้ามใช้ยาคุมกําเนิดชนิดฮอร์โมน
ดูแลป้องกันไม่ให้เกิดซํ ้าโดยการจัดการปัจจัยเสี่ยง
Stroke
ประเภทของ Stroke
Hemorrhagic stroke
เป็นภาวะ Stroke ที่เกิดจากหลอดเลือดใน
สมองแตก
Intracerebral hemorrhage เป็นภาวะเลือดออกในเนื้อสมอง
Subarachnoid hemorrhage เกิดจากหลอดเลือดแดงที่ผิวสมองแตกสาเหตุจาก สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ความดันโลหิตสูงพันธุกรรม ยา
Ischemia stroke
เป็น Stroke ที่เกิดมากที่สุดประมาณ 80% ส่งผล
ให้เลือดไปเลี่้ยงสมองลดลง
Thrombosis
Large artery
Small artery
Emboli การเกิด Stroke จากลิ่มเลือด
การเต้นของหัวใจผิดปกติ ได้แก่ AF
เยื่อบุหัวใจอักเสบ
การทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ เช่นCHF หรือ MI
อาการ
Post acute stage
ผู้ป่ วยเริ่มมีอาการคงที่ 1-14 วัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ (Recovery stage)3 เดือนแรก
Acute stage
หมดสติ มีภาวะความดันใน
กะโหลกศีรษะสูง
ระบบการหายใจและการทํางานของ
หัวใจผิดปกต
ระยะ 24 -48ชม.
สรีรภาพของสมอง
ได้รับเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจไปเลื้ยงโดยเลือดได้นำO2 กลูโคส และสารอาหารต่าง ๆ ไปเลี้ยง ดังนั ้นเมื่อมีความผิดปกติของหลอดเลือดไปเลี้ยงสมอง มีผลต่อการทําลายของเซลสมอง
ปกติสมองมีเลือดมาเลี้ยงประมาณ 50 - 55 มล. /100 กรัมของสมอง/ นาที
ถ้า<18 มล. /100 กรัมของสมอง/ นาที เซลล์สมองจะเสียหน้าที่ทางสรีระ
ถ้า <15 มล./100 กรัมของสมอง/ นาที จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ
เซลล์สมองอย่างถาวร
ัปัจจัยเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงได้
โรคของ carotid artery disease และ peripheral
โรคของหัวใจและระบบไหลเวียน
เป็ น HT, DM, สูบบุหรี่, สุรา หรือยาเสพติด
AtrialFibrillation
ไขมันในเลือดสูง อ้วน ไม่ออกกำลังกาย
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
ชายเสี่ยง >หญิง
ประวัติครอบครัว
อายุที่สูงขึ้นมีภาวะเสี่ยงสูงขึ้น
เคยเป็น โรคหลอดเลือดสมอง หรือ Stroke มาก่อน
สมองขาดเลือดชั่วคราว TIA
10-15% จะเกิดโรคหลอดเลือดสมองภายใน 3 เดือนหลังเกิด TIA ครั้งแรก
อาการอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด อยู่ประมาณ 2-30 นาที
หายเป็นปกติในเวลาภายใน 24 ชั่วโมง
การประเมิน
การตรวจร่างกาย
เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ
ตามัว หรือ มองเห็นภาพซ้อน
อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีกชาครึ่งซีก
พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
ปวดศีรษะ อาเจียน
ซึม ไม่รู้สึกตัว
การตรวจพิเศษ ได้แก่ CT scan, angiogram, MRI
ประวัติ
ประวัติโรคหลอดเลือดสมอง โรคกล้ามเนื ้อหัวใจตาย
โรคร่วม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
การเจ็บป่วยในช่วงที่ผ่านมา
การใช้ยา ผู้เห็นเหตุการณ์
ระยะเวลาที่มีอาการ
การรักษา/พยาบาล
ข้อห้ามของการให้ยาละลายลิ่มเลือด
มีอาการของโรคหลอดเลือดสมองตีบและอุดตันที่ไม่ทราบเวลาที่เริ่ม
เป็นอย่างชัดเจน
มีอาการเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมอง
มีอาการชัก
ความดันโลหิตสูง (SBP≥ 185 mmHg, DBP≥ 110 mmHg
การรักษา Ischemic Stroke
มีอาการทางระบบประสาทที่สามารถวัดได้โดยใช้ NIHSS
ผล CT scan ของสมองไม่พบเลือดออก
อายุมากกว่า 18 ปี
การให้ยา ASA 48 ชั่วโมงหลังได้รับยาฉีด
ให้ยาละลายลิ่มเลือดต้องมีข้อบังชี ้ในการรักษาครบทุกข้อ
ใกรณีที่เป็ น Stroke ประเภทที่หลอดเลือดแตกและมีเลือดออกในสมอง
ต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับอาการเตือน Stroke แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
หลอดเลือดดำตีบ
สาเหต
หลอดเลือดดําได้รับอันตราย เช่นอุบัติเหตุกระดูกหัก กล้ามเนื้อถูกกระแทก หรือการผ่าตัด
เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนช้าลงเช่นการนั่งหรือนอนนาน หลัง
ผ่าตัด อัมพาต การเข้าเฝือก
การที่เลือดมีการแข็งตัวง่าย
อาการ
บวมที่เท้า
ปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่ง
เวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
โรคหลอดเลือดดำ
ส่วนลึกอุดตัน หรือ "กลุ่มอาการเครื่องบินชั้นประหยัด
การรักษา/
ลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดํา
ลึกและการป้องกันเส้นเลือดขอด
รับตัวไวในโรงพยาบาลแพทย์จะเลือกให้ heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั ้นต้องให้warfarinเพื่อป้องกันลิ่มเลือดอีก 3เดือน
วิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
หลอดเลือดดำและแดงอักเสบ
TAO
เป็ นภาวะที่หลอดเลือดแดงและดําทั ้งขนาดกลางและเล็ก บริเวณแขน
และขาอักเสบแบบเฉียบพลัน โดยไม่ทราบสาเหตุ
พบชาย>หญิงอายุระหว่าง20-35ปีที่สูบบุหรี่
อาการ
ระยะแรก
มีอาการปวดบริเวณขา และหลังเท้ารุนแรง
อาจมีอาการปวดน่องร่วมด้วยเวลาเดิน
เดินไม่ได้ไกล เป็นตะคริว
บ่อยที่เท้าและน่อง หลังเดินหรือออกกำลังกาย
อาการหายไปเมื่อพัก อาการเหล่านี้เรียกว่า Intermittent Claudication
ระยะต่อมา
อาจถูกตัดนิ้ว
มีแผลเรื้อรังตามนิ้วมือนิ้วเท้า
การรักษา
งดสูบบุหรี่
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
ให้ยาขยายหลอดเลือด
ให้ยา NSIAD เมื่อมีอาการหลอดเลือดดําอักเสบ
การรักษาโดยการผ่าตัด
หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
เมื่อสะสมมีขนาดใหญ่พอ ก็จะทําให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะน้อยลง
หลอดเลือดแดงขนาดกลาง หรือเส้นใหญ่ มี
การสะสมของไขมัน และแคลเซี่ยมที่ผนังด้านในของหลอดเลือดแดง
สาเหต
การอักเสบจากโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื ้อบางชนิด
แรงดันของความดันโลหิต
สารเคมีในร่างกาย
อาการ คล้ายหลอดเลือดแดงอักเสบ คือ จะมีอาการปวดรุนแรงบริเวณที่
หลอดเลือดแดงไปเลี ้ยง เช่น บริเวณ แขน ขา น่อง
การรักษา
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยยาโดยใช้ ยาต้านเกล็ดเลือด Anti-Platelet Agents
การผ่าตัด
จัดท่านอนราบขาเหยียดตรง ห้ามงอ ห้ามเอาหมอนรองใต้เข่าเนื่องจาก
มีระบบไหลเวียนเลือดลดลง
สังเกตออาการ Bleeding, pain, infection, ขาดเลือด, หายใจและวิตกกังวล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
โรคหลอดเลือดดำขอด
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
มีปัจจัยเสริมที่ทําให้เกิด คือการยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน การถูกผูกรัด
พบหญิง> ชาย
อาการ
ปวดตื้อๆ บริเวณขา กล้ามเนื้อเป็นตระคริว
บวมปวด ขามีสีคล้ำ
อาจมีแผลที่เท้าจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ และติดเชื้อได้ง่าย
การรักษา
หลังผ่าตัดพยาบาลควรตรวจสอบเกี่ยวกับการตกเลือด
หลังผ่าตัดต้องให้แนะนําเพื่อป้องกันการกลับเป็นซํ ้า
การผ่าตัดนําหลอดเลือดที่ขอดออก
รักษาแบบประคับประคอง