Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่ 41 (612001042) รุ่น…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์
1.การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
2.การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
3.การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทําต่อตนเอง
2.ช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมาน ดังนี้
2.1 ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
2.2 ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
2.3 ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทําตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพ
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2..กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
4..สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน เมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสิน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุ และมีกำหนด 1 ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทําผิด
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคําสั่งปฏิเสธคําขอครั้งแรก
บทกำหนดโทษ
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จําคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000บาท
2.ุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน
4.การไม่มาให้ถ้อยคําหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจําคุกไม่เกิน 1เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
5.ผู้ไม่อํานวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน1000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540)
1.ให้กรรมการทุกประเภทดํารงอยู่จนครบวาระ
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
3.สําเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี มี
สิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ
1.อาชีพนั้นมีความจําเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน
3..สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
5.มีเอกสิทธิ์ ในการทํางาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทําหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
ความสําคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.อาชีพนั้นมีความจําเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทํางาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทําหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
การพยาบาล
เป็นการกระทําต่อมนุษย์เกีี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์
การกระทําเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทําคลอด การส่งเสริมสุขภาพและการป้องก ันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
1.การสอน การแนะนํา การให้คําปรึกษาและแก ้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทําต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อม
3.การกระทําตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค
5.การสอน การแนะนํา การให้คําปรึกษาและการแก ้ไขปัญหาเกี่ยวกับ สุขภาพ
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
1.การสอน การแนะนํา การให้คําปรึกษาและการแก ้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทําต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด
3.การตรวจ การทําคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค
พนักงานเจ้าหน้าที่
1.ให้อํานาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต ค้นหรือยึดหลักฐานการกระทําที่ผิดกฎหมายในสถานที่นั้นได้
2.ในการเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าทีÉต้องแสดงบัตรประจําตัว
3.ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจตามประมวลกฎหมายอาญา
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย
1.สมาชิกสามัญ
2.สมาชิกกิตติมศักดิ์
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
1.โรคจิต โรคประสาท
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
การพ้นจากสภาพสมาชิกสามัญ
1.ตาย
2.ลาออก
3.ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.สําเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
-สําเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
-สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
-สอบขึ้นทะเบียน
สําเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
สําเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
สําเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลําเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
ประเภทของคณะกรรมการฯ
1.กรรมการสภาฯ จากการเลือกตั้ง จํานวน 16 คน
2.กรรมการสภาฯ จากการแต่งตั้ง จํานวน 16 คน
3.กรรมการที่ปรึกษา จํานวนไม่เกิน 1 ใน 4 ของกรรมการ
การเลือกตั้งกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างลง
กรรมการว่างลง หนึ่งในสองหรือน้อยกว่าของกรรมการจากการเลือกตั้ง เลือกสมาชิกสามัญขึ้นแทน
กรรมการว่างลง มากกว่าหนึ่งในสอง สมาชิกสามัญเลือกตั้งกรรมการขึ้้นแทนภายใน 90 วัน
ถ้าอายุกรรมการเหลือต่ำกว่า 90 วัน ให้รอเลือกตั้งใหญ่พร้อมกัน
สภานายกพิเศษ
1.รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา 5)
2.แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
3.ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆ
4.ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการ
การดําเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน
เรื่องสําคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะ
2.การลงมติ กรรมการ 1คน มี 1 เสียง
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
4.การพ้นจากตําแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
กรรมการที่ปรึกษาจากกรรมการชุดใดพ้นจากตําแหน่งตามวาระกรรมการชุดนั้น
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่ 41 (612001042) รุ่น 36/1